Page 258 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 258

55
               โสดมบรมหน่อนรา เจ้าฟ้านเรศเชษฐาธิบดี”   มากที่สุด ส่วนพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจัน
                                                                                              ้
               ทานุมาศ (เจิม) ที่ชำระขึ้นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์เมื่อ พ.ศ. ๒๓๓๘ ไดออกพระนาม
                                                              56
               ว่า “สมเด็จพระนเรศวรบรมราชาธิราชบพิตรเป็นเจ้า”   การที่ตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์ออกพระนามว่า
               “พระนเรศเจ้าฟ้าเจ้าพญาสองแฅว” นั้นอาจเป็นด้วยพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐฯ ได้เรียก

                                                                 ้
               สมเด็จพระนเรศวรฯ ว่า “สมเด็จพระนารายณ์บพิตรเป็นเจา เสด็จขึ้นไปเสวยราชสมบัติเมืองพิษณุโลก” ใน
                                                                 57
               พ.ศ. ๒๑๑๔ (จ.ศ. ๙๓๓) ขณะมีพระชนมายุได้ ๑๖ พรรษา
                                                                                                 ้
                       เหตุการณ์ในตอนนี้เป็นการเกณฑ์ไพร่พลชาวเมืองลับแลงไชย ๕๐๐ คน ไปช่วยรบกับศึกลานชาง ซึ่ง
                                                                                                    ้
               “ครั้งนั้นเจ้าหมื่นฅำกองเจ้ากุมเวียงลับแลงไจยกุมจับพระญาลาวได้ แต่หลุดหนี เจ้าหมื่นฅำกองต้องจำเฆี่ยน
               ๓๐ แส้” ในการทำศึกกับล้านช้างนี้ พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐฯ ไม่ได้ใส่รายละเอียด

               ระบุเพียงว่า “ศักราช ๙๓๖ น้ำมากนัก ครั้ง(นั้น) สมเด็จพระเจ้าลูกเธอทรงพระประชวรทรพิษ” ในคราวทกรุง
                                                                                                      ี่
               หงสาวดียกทัพไปตีล้านช้าง และสั่งให้กรุงศรีอยุธยาแต่งทัพไปช่วยรบ โดยมีพระมหาธรรมราชาธิราช กับ
               สมเด็จพระนเรศวรฯ เป็นแม่ทัพ ครั้นกองทัพอยุธยายกมาถึงหนองบัวในเขตแดนล้านช้างนั้น สมเด็จพระ

               นเรศวรฯ ทรงประชวรเป็นทรพิษ พระเจ้าบุเรงนองจึงตรัสให้สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชกับสมเด็จพระ

               นเรศวรฯ เสด็จคืนมายังกรุงศรีอยุธยา ส่วนผลของสงครามนั้น พระเจ้าล้านช้างป้องกันเมืองไว้ได้ พระเจ้าบุเรง
               นองเห็นว่าใกล้ฤดูฝนแล้ว จึงให้เลิกทัพกลับกรุงหงสาวดี ส่วนใน มหาราชวงษ์ (พงศาวดารพม่า) ได้กล่าวถึง

               ชนวนของสงครามครั้งนี้ว่า ใน พ.ศ. ๒๑๑๖ (จ.ศ. ๙๓๕) มีข่าวว่าพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชสิ้นพระชนม์ พระยา

                                                                  ้
               แสนเมืองล้านช้าง อำมาตย์ผู้ใหญ่ที่ไม่ไดเป็นเชื้อพระวงศ์ไดเขายึดอำนาจ พระเจ้าบุเรงนองจงยกทพมาตเมือง
                                                                ้
                                                                                           ึ
                                                                                                     ี
                                                                                                ั
                                                ้
                                              ้
               เวียงจันทน์เพื่อมอบให้กับเจ้าอุปราชลานช้างที่ไปเป็นองค์ประกันที่เมืองหงสาวดี พระยาแสนเมืองทราบขาวว่า
                                                                                                     ่
               พระเจ้าบุเรงนองยกทัพมาก็เกรงในกำลังพลจึงหนีออกจากเมืองเวียงจันทน์ไปซ่องสุมอยู่ในป่า แล้วสถาปนาให้
               เจ้าอุปราชล้านช้างขึ้นเป็นกษัตริย์ล้านช้างแทน
                                                      58
                       จะเห็นได้ว่าตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์ มีความขัดแย้งกับเอกสารอื่น ๆ ไม่มีการจับพระญาล้านชาง
                                                                                                       ้
               (พระยาแสนเมือง) ได้แต่อย่างใด










                       55  ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ จุลศักราช ๑๑๖๖ พิมพ์ตามฉบับหลวง ตรา ๓ ดวง เล่ม ๒, พระนคร :
               มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง, ๒๔๘๑, หน้า ๔๘๙.
                       56  ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม ๓, กรุงเทพฯ : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร,

               ๒๕๔๒, หน้า ๒๘๕ – ๒๘๘.
                       57  ตรงใจ  หุตางกูร, ๒๕๖๑, หน้า ๑๓๕.
                       58  ตรงใจ  หุตางกูร, ๒๕๖๑, หน้า ๑๓๘ – ๑๓๙.

                                             การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
                                                        หน้า ๑๐๘
   253   254   255   256   257   258   259   260   261   262   263