Page 627 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 627
บทที่ ๖
สรุปผลการศึกษา
ี่
จากการศึกษาและรวบรวมข้อมูลทั้งเอกสารทางประวัติศาสตร์และแผนทรวมถึงการวิเคราะห์ด้าน
ภาษาศาสตร์ ผู้ศึกษาขอสรุปผลการศึกษาดังต่อไปนี้
๑. ที่มาของคำว่า “เมืองซาก” และแม่น้ำ “ซาก”
๑.๑ ผู้ศึกษาขอเสนอแนวคิดว่าเมืองซาก น่าจะมีที่มามาจากสาเหตุการณ์อุทกภัยดินโคลน
ถล่มเวียงสระหนองหลวง(ซึ่งมีศูนย์กลางเมืองอยู่ตำบลทุ่งยั้งในปัจจบัน) ทำให้ผู้คนชาวเมืองลมตาย บ้านเมือง
้
ุ
ถูกน้ำพัดพาจนเหลือซากปะรักหักพัง ตามเนื้อความที่ปรากฏในบันทึกตำนานฉบับเก๊าพระเจ้ายอดคำทิพย์
ิ
วัดลับแลงและตามหลักฐานธรณีวิทยาร่องรอยการเกิดดนโคลนถล่มโบราณในพื้นที่อำเภอลับแล
๑.๒ ผู้ศึกษาขอเสนอแนวคิดว่า “แม่น้ำซาก”ที่ปรากฏในพงศาวดารโยนก นั้นคือ ห้วยแม่ราก
อันมีห้วยทั๊กไหลรวมลงห้วยแม่ราก ซึ่งเป็นลำห้วยสายหลกทหลอเลี้ยงผู้คนเชื้อสายไทยวนและไหลลงลำน้ำยม
่
ั
ี่
โดยห้วยแม่ราก มีจุดกำเนิดของห้วยอยู่ในเขตเมืองลับแลง
๒. ตำแหน่งของที่ตั้งของ “Metac”ในแผนที่สมัยอยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ และตำแหน่ง
ของทะเลสาบเชียงใหม ่
๒.๑ ผู้ศึกษาขอเสนอแนวคิดว่า ตำแหน่งของ “Metac” ที่ปรากฏในแผนที่สมัยอยุธยา ธนบุรี
ั
และรัตนโกสินทร์คือ จุดตำแหน่งของเมืองซาก ซึ่งปัจจุบันคือพื้นที่ตั้งอำเภอลบแลในปัจจุบันอันมีเมืองโบราณ
ที่ทับซ้อนกันอยู่สองเมืองคือ เมืองทุ่งยั้งและเมืองลับแลง อันปรากฏแหล่งโบราณสถานในแอ่งลับแลงหลาย
แหล่งที่มีอายุในพุทธศตวรรษที่ ๒๐ (๑๙๐๐-๒๐๐๐) จากหลักฐานการตรวจสอบโบราณสถานวัดม่อนใหญ่ใน
พื้นที่ตำบลฝายหลวง อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ของกรมศิลปากร
๒.๒ ผู้ศึกษาขอเสนอแนวคิดว่าคำว่า “ชาการาว ชวาชกํ” ที่ปรากฏในจารึกเขาสุมนกูฏ ดาน
้
ที่ ๔ และจารึกวัดอโสการาม ด้านที่ ๒ ซึ่งสร้างขึ้นในสมัยพระมหาธรรมราชา(ลิไท) คือชื่อหนึ่งก่อนเรียกว่า
“เมืองซาก” อันเป็นเมืองที่อยู่ภายใต้การปกครองของรัฐสุโขทัย
๒.๓ ผู้ศึกษาขอเสนอแนวคิดว่าทะเลสาบเชียงใหม่ ที่ปรากฏในจดหมายลาลูแบร์
ราชอาณาจักรสยาม ในเอกสาร ADVENTURES OF MENDEZ PINTO และเอกสาร ÁSIA DE JOÁO DE
BARROS คือ บึงมาย ในปัจจุบันอันเป็นบึงที่อยู่ในเขตอำเภอลับแล
การศึกษาเปรียบเทียบสมมุติฐานเมืองซาก (ทราก) ฯ
หน้า ๑๔๑