Page 895 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 895

้
                                        ใบลานวัดทองลับแล “ทักขิณาวิภังคสูตร”
                                 ท้ายธรรมปรากฏความ “บ้านลับแลงเป็นธุลี พ่ายหนีไทย”





















                                                   ้
                                  ุ
               คำอ่านปริวรรต : บริบณณยามตรุดเช้าแกขาอุฅิกส้างเมิอบานลับแลงเปนธุลีพายหนีไถย
               คำอ่าน : บริบูรณ์ยามตรุษเช้าแก่ขา อุคิกะ สร้างเมื่อบ้านลับแลงเป็นธุลีพ่ายหนีไถย (ไทย)
                                           ้
               ที่มา : พบที่วัดท้องลับแล  ตำบลฝายหลวง  อำเภอลับแล  จังหวัดอุตรดตถ์
                                                                          ิ
                      ้
                                                 ู้
                      ทายธรรมไม่ปรากฏชื่อ ไม่ปรากฏผแต่งและผู้จาร ไม่ปรากฏปี พ.ศ./จ.ศ.ทจาร
                                                                                ี่
               ความสำคัญ : ใบลานจารด้วยภาษาล้านนา พบคำว่า “อุคิกะ สร้างเมื่อบ้านลับแลงเป็นธุลีพ่ายหนีไทย” คำว่า
               อุคิกะ มาจากคำว่า อุกขิตตะ เป็นภาษาบาลีแปลว่า มหาโจรผู้ถือดาบ จากความนี้สะท้อนให้เห็นถึงบริบททาง

               สังคมหรือประวัติศาสตร์ของเมืองลับแลง ณ เวลานั้น ซึ่งระบุชัดว่า บ้านลับแลง(เมืองลับแลง) เคยโดนพวกไทย

               (สันนิษฐานว่าน่าจะชาวสยาม) เข้าเข่นฆ่าปล้น ตีกระหน่ำจนเป็นธุลี นัยยะว่า เผาจนสิ้นซากไม่หลงเหลอสงใด
                                                                                                      ิ่
                                                                                                    ื
               แม้แต่วัด บ้าน เวียง ก็คงถูกเผาจนเหลือแค่เถ้าถ่านในสงครามครานั้น

                       จากเอกสารประวัติศาสตร์ของสยามพบว่าเมืองลับแลเป็นเมืองที่อยู่ในความปกครองของอยุธยา
                                                    ู่
               ตามที่ปรากฏหลักฐานที่เก่าที่สดคือเอกสารคมือทตตอบในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเรื่อยมาจนถึงสมัย
                                                        ู
                                        ุ
               รัตนโกสินทร์ตอนต้น ( รัชกาลที่ ๕ ก่อนตั้งกระทรวงมหาดไทย ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๕) โดยขึ้นตรงกับเมืองพิ
               ไชย ไม่เคยปรากฎในเอกสารทั้งฝ่ายสยามและล้านนาว่าเมืองลับแลถูกทำลายโดยฝ่ายสยาม

                       นั่นย่อมแสดงให้เห็นว่าเหตุการณ์ที่เมืองลับแลถูกทำลายในครั้งนี้น่าจะต้องเกิดขึ้นก่อนสมัยสมเดจพระ
                                                                                                     ็
               นารายณ์มหาราชเป็นแน่
               ผู้ค้นพบ : นายณัฐฐชัย  ฟูใจ คณะกรรมการประวัติศาสตร์เมืองลับแล (เมืองลับแลง)















                                                   ภาคผนวก ~ หน้า ๒๕ ~
   890   891   892   893   894   895   896   897   898   899   900