Page 944 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 944

ั
                                                                                     ุ
                                                                      ี่
                              ภาพ ๙-๑๑  ตัวอย่างเนื้อความในเอกสาร ฉบบทสอง ระบุ ศุภมัสด ๑๕๔๖

                                                                                                     ิ
                       เอกสารพับสาฉบับนี้ว่าด้วยเรื่องราวเกี่ยวกับ พระราชกฤษฎีกา การกำหนดโทษหรือการปรับสนไหม
                                                                                           ์
               จากการกระทำผิดในรูปแบบต่างๆ ระบุ ศุภมัสดุ ๑๕๔๖  ตรงกับสมัยสมเด็จพระนารายณแห่งกรุงศรีอยุธยา
                                                                                                     ็
               เอกสารฉบับนี้น่าจะเขียนขึ้นราวสมัยพระเจาปราสาททองลงมา เพราะปรากฏคำว่า พระที่นั่งวิหารสมเดจ ดง
                                                   ้
                                                                                                         ั
                                                                                                      ์
               ภาพ ซึ่งพระที่นั่งวิหารสมเด็จนั้นเริ่มสร้างในสมัยพระเจ้าปราสาททองพระราชบิดาแห่งสมเด็จพระนารายณ
                       การปรากฏพบเอกสารทั้งสองฉบับนี้ทำให้สามารถสันนิษฐานได้ว่าเมืองลับแลใช้พระราชกฤษฎีกาหรือ
               ตัวกฏหมายเดียวกับกรุงศรีอยุธยาเพราะเป็นเมืองซึ่งขึ้นกับสยามมายาวนาน เบื้องต้นคงใช้ฉบับที่ระบุ ศภมัสด  ุ
                                                                                                    ุ
                                                                                                      ้
               ๑๓๗๒  (พระบรมไตรโลกนารถ)ก่อน จากนั้นเมื่อมีการปรับแก้ชำระเพิ่มเติมในยุคสมัยหลังจึงเปลี่ยนมาใชฉบับ
               ที่ระบุ ศุภมัสดุ ๑๕๔๖ (สมเด็จพระนารายณ์ฯ)เป็นลำดับต่อมา
















                                                   ภาคผนวก ~ หน้า ๗๔ ~
   939   940   941   942   943   944   945   946   947   948   949