Page 48 - C:\Work_chawee\1-64\นิเทศภายใน\
P. 48
1
คู่มือการนิเทศแบบกัลยาณมิตร โดยใช้เทคนิคจับคู่นิเทศ (Pair share)
โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา ปีการศึกษา 2563
1. บทน า
ที่มาและความส าคัญของการนิเทศภายใน
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มาตรา 7 ระบุว่า ในกระบวนการเรียนรู้ตอง
้
ู
ั
ิ
ี่
มุ่งปลกฝงจตสานึกทถูกตองเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง-
้
ั
ิ์
ี่
ั
่
ิ
เป็นประมุข รู้จกรักษาและสงเสริมสทธิ หน้าท เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศกดศรี
ั
ความเป็นมนุษย์ มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย รู้จกรักษาผลประโยชน์สวนรวมและของประเทศชาต ิ
่
รวมทั้งส่งเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็น
สากล ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตและสงแวดลอม มีความสามารถในการประกอบอาชพ รู้จก
ิ
ิ่
้
ั
ี
พึ่งตนเอง มีความริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2542)
ั
หลกสตรแกนกลางการศกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกราช 2551 มีจดมุ่งหมายเพื่อมุ่งพัฒนาให้นักเรียน
ึ
ั
ุ
ู
ู้
ี
เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีความรู้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีความสามารถในการด ารงชวิตร่วมกับผอื่นใน
้
ุ
ั
สงคมไดอย่างมีความสข ดวยเหตนี้จงไดมีการก าหนดแนวทางในการจดการเรียนรู้โดยมุ่งเน้นการฝก
ุ
ึ
้
ึ
ั
้
กระบวนการคิดของนักเรียนและมุ่งพัฒนาความสามารถทางอารมณ์ โดยการปลูกฝังให้นักเรียนเห็นคุณค่าของ
ตัวเอง เข้าใจตนเองและผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ปัญหาความขัดแย้งทางอารมณ์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ดังนั้น
การจัดการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ จึงมุ่งส่งเสริมให้มีกระบวนการคิดและวิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้นักเรียนได ้
คิด ท า ทบทวน พิสูจน์ผล และน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง (ส านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2549)
ึ
ึ
เพื่อให้การจัดการศกษามีการพัฒนาสอดคล้องกับแผนการศกษาแห่งชาติ พระราชบัญญัติการศกษา
ึ
ู
ิ
ั
ั
ั
ึ
แห่งชาต พุทธศกราช 2542 และหลกสตรแกนกลางการศกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกราช 2551 จงจาเป็นต้องมี
ึ
้
การติดตาม ประเมินผลการด าเนินต่างๆ ภายในสถานศึกษา ซึ่งการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพต้องประกอบดวย
ั
ั
ี่
ื
กระบวนการทสาคญ 3 ประการคอ กระบวนการบริหาร กระบวนการจดการเรียนการสอน และกระบวน
ั
การนิเทศการศึกษา ทั้ง 3 กระบวนการนี้มีความส าคัญที่เท่าเทียมกันต้องด าเนินไปอย่างสอดคล้องและสมพันธ์
กัน (ส านักการศึกษากรุงเทพมหานคร, 2540 อ้างถึงใน ชุติกาญจ์ เบญจพรวัฒนา, 2547)
ึ
ี้
่
ื
ื
ิ
การนิเทศการศกษา เป็นระบบการตดตาม ชวยเหลอ ชแนะการทางาน รวมไปถึงการชวยเหลอ
่
้
ี่
การดาเนินงานดานการเรียนการสอนของครู เพื่อให้บรรลผลตามเป้าหมายทก าหนดไว้ ซึ่งกระบวนการนิเทศ
ุ
ุ
ประกอบไปด้วย ผู้นิเทศ และ ผรับการนิเทศ เพื่อเป็นการติดตามผลจากการจัดการเรียนการสอนให้มีคณภาพ
ู้
่
ิ
ึ
่
สงสดอันจะสงผลตอผเรียน และการศกษาของชาต การนิเทศการศกษาจงมีหลายรูปแบบแตกตางกันออกไป
ู้
ู
ึ
ึ
่
ุ
้
ั่
เพื่อให้สอดคลองเหมาะสมกับสภาพสงคมและบริบทของสถานศกษา โดยรูปแบบการนิเทศทพบไดโดยทวไป
ึ
้
ั
ี่
ั
ื
ึ
ี่
คอ การนิเทศภายใน เนื่องจากการนิเทศภายในเป็นรูปแบบหนึ่งทมุ่งพัฒนาครูและการจดการศกษาให้มี
ิ
ประสทธิภาพ สนับสนุนการทางานร่วมกันระหว่างผบริหารและบุคลากรภายใน เพื่อปรับปรุง แก้ไข
ู้
ู่
ิ
คู่มือการนเทศแบบกัลยาณมิตร โดยใช้เทคนิคจับคนิเทศ| งานนิเทศภายใน โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา