Page 15 - รายงาน PLC กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 62
P. 15
4. วันเวลาสถานที่ในการด าเนินงาน
ระยะเวลา : ตั้งแต่วันที่18 ตุลาคม 2562- 21 มกราคม 2563
สถานที่ : โรงเรียนวีรศิลป์ อ าเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
5. สรุปผลการด าเนินงาน
จากการแก้ปัญหาการพัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาของนักเรียน โดยใช้แบบฝึกการ
กระโดดเชือกได้ผล ดังนี้
5.1 ด้านผู้เรียน
ั
นักเรียนมีสมรรถภาพความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาที่สูงขึ้น สามารถเรียนรู้และท างานร่วมกน
เป็นทีมได้ นักเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีขึ้น
5.2 ด้านกิจกรรม
กิจกรรมที่ใช้กระตุ้นการเรียนรู้ได้ดี มีการแบ่งเป็นฐานในการปฏิบัติท าให้เกิดความน่าสนใจ
และท้าทายในการปฏิบัติกิจกรรม ท าให้นักเรียนตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมมากขึ้น
5.3 ด้านครู
ครูผู้สอนสามารถเรียนรู้ในการท างานร่วมกัน สามารถพฒนาค้นหาความรู้ใหม่ๆเพอใช้เป็น
ั
ื่
แนวทางในการพัฒนานักเรียนต่อไป
5.4 ด้านสื่อการสอน /วิธีการ
ั
เป็นสื่อที่ใช้ได้ง่ายไม่ยุ่งยากในการเตรียมท าให้เกิดแนวทางในการพฒนาสื่อและวิธีการสอน
ใหม่ไปปรับใช้ในการเรียนการสอนมากขึ้น
5.5 ด้านบรรยากาศ /สภาพการในห้องเรียน/ สภาพการปฏิบัติงาน
นักเรียนสนใจในการเรียนมากขึ้น ครูมีการวางแผนการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดีสามารถ
แก้ปัญหาต่างๆในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม
6. อภิปรายผลการด าเนินงาน
6.1 ผลลัพธ์ที่เกิดจากกระบวนการ PLC
ครูผู้สอนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการท างานร่วมกัน มีการเสนอแนะปัญหาและ
แนวทางในการแกไขปัญหาต่างๆในการจัดการเรียนรู้ เกิดการท างานที่เป็นระบบมากขึ้นและสามารถ
แก้ปัญหาให้กับนักเรียนได้อย่างแท้จริง
6.2 ผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียน/ครู/สมาชิกที่เข้าร่วมเครือข่าย PLC
นักเรียนมีผลการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาที่ดีขึ้น สามารถน าความรู้ไปปรับใช้ใน
การออกก าลังกายของตนเองได้อย่างเหมาะสม ครูผู้สอนสามารถช่วยเหลือในการแก้ปัญหาท าให้เกิดการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการท างานมากขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถน าแนวทางในการแก้ปัญหาไปปรับใช้ในการ
จัดการเรียนการสอนของตนเองได้
7. ผลที่เกิดจากการด าเนินงาน (ตามวัตถุประสงค์ / เป้าหมาย)
7.1 นักเรียนมีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขามากขึ้น
7.2 สมาชิกที่เข้าร่วมเครือข่าย PLC มีความเข้าใจในการท างานร่วมกันมากขึ้น