Page 17 - การบริหารจัดการน้ำ
P. 17

ผลสำเร็จจากการดำเนินงาน

                        1. มีแกนนำซึ่งมาจากกลุมผูใชน้ำจาก 7 ลุมน้ำสาขา เขามา
                  เปนแกนหมุนขับเคลื่อนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
                  สิ่งแวดลอม โดยการสรางรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ
                  แบบยั่งยืนตามแนวพระราชดำริ โดยการเรียนรูการทำฝายชะลอน้ำ
                  แนวกันไฟ และการปลูกปา ฯลฯ จากเครือขายลุมน้ำจาง โดยมี

                  บานสามขาเปนตนแบบ                                                ภาพจากกองสื่อสาร : ฝายตนน้ำ
                        2. มีการสรางจิตสำนึกในการเปนเจาของรวมกัน สรางกระบวนการเรียนรูในการพึ่งตนเอง เพื่อแกไขปญหา
                  ในพนที่ตามแนวพระราชดำริ โดยใชคนเปนศูนยกลางการเรียนรู
                      ื้
                        3. มีตัวแทนในการติดตอสื่อสาร และประสานงาน เกิดการเชื่อมโยงเครือขายการทำงานกับทางราชการ
                  เอกชน (แบบประชารัฐ) มีสวนรวมในการวางแผนยุทธศาสตรลุมน้ำวัง และเกิดการวางแผนงานโครงการ
                  ที่มาจากความตองการของประชาชนอยางแทจริง
                        4. มีการดำเนินงานบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ปา ดิน และสิ่งแวดลอม ฯลฯ แบบมีสวนรวม โดยการให

                  ขอมูลขาวสาร การรับฟงความคิดเห็น การรวมตัดสินใจ การรวมดำเนินกิจกรรมตาง ๆ ในลุมน้ำวัง รวมทั้งการ
                  ติดตามประเมินผล และแกไขปญหาในพื้นท เปนการสรางการยอมรับการทำงานรวมกันของผูนำชุมชนทั้ง 7 ลุมน้ำ
                                                   ี่
                  สาขา
                        5. เกิดรูปแบบที่สามารถนำไปใชในการบริหารจัดการแกไขปญหาในลุมน้ำอื่นได
                                                           ี่
                        6. เกิดฝายชะลอน้ำที่เหมาะสมกับสภาพพื้นทใน 7 ลุมน้ำสาขา ซึ่งเกิดจากกระบวนการเรียนรู และความ
                  รวมมือรวมใจของภาคประชาชนและภาคสวนตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ในระยะเวลา 3 ป (พ.ศ. 2555 - พ.ศ. 2558)

                  ไดมีการขยายผลอยางตอเนื่องสามารถขับเคลื่อนไดฝายเพิ่มขึ้น  จำนวน 33,128  แหง  จากฝายที่มีอยูเดิม
                  จำนวน 67,670 ฝาย คิดเปนรอยละที่เพิ่มขึ้น 32.87 ของจำนวนฝายทั้งหมด
                        7. เกิดระบบประปาภูเขาในพื้นที่ลุมน้ำสาขาแมสอย จำนวน 1 แหง และไดมีการขยายผลไปยังลุมน้ำอื่น ๆ
                                                                                             ี่
                  สำหรับประปาภูเขาเดิมไดมีการสรางความชุมชื้นและเพิ่มปริมาณน้ำตนทุน จำนวน 17 แหง ในพนท 7 ลุมน้ำสาขา
                                                                                           ื้
                        8. มีการทำแนวปองกันไฟปา ชวยลดปญหาดานมลพิษทางอากาศจากหมอกควัน ทำใหสภาพอากาศดีขึ้น
                        9. อางเก็บน้ำและหวยที่ตื้นเขินไดรับการแกไข ดวยวิธีการดักตะกอน ทำใหสามารถกักเก็บน้ำในอางเพิ่มขึ้น
                  ไดแก อางเก็บน้ำหวยกอด อำเภอวังเหนือ และ อางเก็บน้ำแมตา อำเภอแจหม ทำใหมีน้ำเพียงพอในการทำ
                  การเกษตร และลดปญหาการขาดแคลนน้ำในพื้นที่

                        10. มีพื้นที่ปาชุมชนเพิ่มขึ้น ชวยลดปญหาดานทรัพยากรธรรมชาติ และเกิดแหลงอาหารในปา เชน เห็ด
                        
                  หนอไม ผึ้ง แมลง ผักหวาน เปนตน เปนการสรางรายไดใหครัวเรือนจากการหาของปา
                        11. เกิดการพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยว มีที่พักนักทองเที่ยวในชุมชน (Home stay) เพิ่มมากขึ้น

                  รางวัลที่ไดรับ

                        รางวัลพัฒนาการบริหารราชการแบบมีสวนรวม ระดับดีเยี่ยม ประจำป พ.ศ. 2559 จากสำนักงาน
                  คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ








                                                                                   ประมวลสาระนารูเรื่อง “น้ำ”  17
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22