Page 14 - การบริหารจัดการน้ำ
P. 14

3 ฝายชะลอความชุมช ้น : สรางน้ำใหผืนปา



                    รูปแบบและลักษณะ Check Dam นั้น ไดพระราชทานพระราชดำรัสวา
                    “...ใหพิจารณาดำเนินการสรางฝายราคาประหยัด โดยใชวัสดุราคาถูกและหางายในทองถิ่น เชน แบบหินทิ้ง
               คลุมดวยตาขายปดกั้นรองน้ำกับลำธารขนาดเล็กเปนระยะๆ เพื่อใชเก็บกักน้ำและตะกอนดินไวบางสวน โดยน้ำ
                                                                                            ุ
               ที่กักเก็บไวจะซึมเขาไปในดินทำใหความชุมชื้นแผขยายออกไปทั้งสองขาง  ตอไปจะสามารถปลูกพันธไมปองกันไฟ
                                   
                                 ุ
               พันธไมโตเร็ว และพันธไมไมทิ้งใบ เพื่อฟนฟูที่ตนน้ำลำธารใหมีสภาพเขียวชอุมขึ้นเปนลำดับ...”
                   ุ
                     
                    ฉะนั้น จะเห็นวาการกอสรางฝายตนน้ำลำธาร หรือ Check Dam จึงเปนแนวทางหรือวิธีหนึ่งในการฟนฟู
               สภาพปาไมบริเวณตนน้ำลำธาร เพื่อคืนความอุดมสมบูรณและทำใหเกิดความหลากหลายดานชีวภาพ (Bio diversity)
               แกสังคมของพืชและสัตว ตลอดจนนำความชุมชื้นมาสูแผนดิน
































                                                                                   ภาพจากกองสื่อสาร : ฝายตนน้ำ
               ตัวอยางความสำเร็จ
                    โครงการกระบวนการแกนหมุนลุมน้ำวัง จังหวัดลำปาง โดยกรมทรัพยากรน้ำ เกิดขึ้นเพื่อแกไขปญหา
               การขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภคของประชาชนในชนบท  สรางความรู  ความเขาใจ  และกลไกการขับเคลื่อน
               การบริหารจัดการน้ำในลักษณะเครือขาย และระดมพลังจากทุกภาคสวน
               รวมทั้งเสริมสรางพลังประชาชนในพื้นที่ลุมน้ำใหมีขีดความสามารถในการ

               พัฒนาการเก็บกักของแหลงน้ำที่มีอยูเดิม และปรับปรุงแหลงน้ำธรรมชาติ
               ซึ่งปจจุบันทองถิ่นตาง ๆ ทุกภาคของประเทศไทยพบกับสภาพปญหา
               การขาดแคลนน้ำที่ใชในการอุปโภคและบริโภค อันเปนผลมาจากปริมาณน้ำที่มีอยู
               ในธรรมชาติ  ไดแก  น้ำฝน  น้ำผิวดิน  และน้ำบาดาล  ลดลงจนไมสามารถ
               แบงปนไดทั่วถึง ซึ่งมีผลกระทบทำใหเกิดปญหาน้ำเสียหรือมลพิษทางน้ำขึ้น
               หรือในบางปก็พบกับสภาพความเสียหายที่เกิดจากปริมาณน้ำที่มากเกินไป

               จนเกิดภาวะน้ำทวมพื้นที่การเกษตรและพื้นที่อยูอาศัยของชุมชน ทำให
               ทรัพยสินและพื้นที่ชุมชนเสียหาย เหลานี้ลวนเปนวิกฤตการณเกี่ยวกับน้ำ
               ซึ่งเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญตอการดำรงชีวิตและการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

               14  ประมวลสาระนารูเรื่อง “น้ำ”
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19