Page 15 - การบริหารจัดการน้ำ
P. 15

ื้
                       สภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในพนที่ลุมน้ำวัง ทั้ง 7 ลุมน้ำ ที่ผานมา พบวาการจัดการทรัพยากรน้ำ
                  แบบบูรณาการในลุมน้ำวังยังไมชัดเจน เนื่องจากสวนราชการหรือหนวยงานที่เกี่ยวของยังไมสามารถบูรณาการ
                  ทำงานรวมกันได จึงทำงานลักษณะตางคนตางทำ และไมมีกลไกการสนับสนุนการมีสวนรวมจากผูนำในพื้นท  ี่
                  รวมทั้งไมตอบสนองความตองการของประชาชนในพื้นที่ นอกจากนี้ ยังพบวาการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่

                  ลุมน้ำวังไมมีแผนจัดการลุมน้ำ และไมมีการสรางความเชื่อมโยงการทำงานระบบลุมน้ำของกลุมเครือขายผูใชน้ำ
                  กลุมยอยในลุมน้ำวังไวดวยกัน สงผลตอความสามารถในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและทรัพยากรอื่นๆ
                  ดังนั้น กรมทรัพยากรน้ำ จึงนอมนำพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 9 “เขาใจ เขาถึง
                  พัฒนา” โดยยึดประชาชนเปนศูนยกลาง และสงเสริมสนับสนุนความรวมมือและการสรางเครือขายความรวมมือ
                  ในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในพื้นที่ เสริมสรางแนวคิด/หลักการบูรณาการทุกภาคสวน ทุกระดับในการ
                  เขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการอยางสอดคลองและผสมผสานกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม

                  และสภาพพื้นที่ และสนับสนุนการนำภูมิปญญาทองถิ่นมาประยุกตใชกับการบริหารจัดการน้ำในแตละลุมน้ำ
                  โดยมีการกำหนดแนวคิดในการดำเนินงานรวมกัน  รวมคนหาปญหาและสาเหตุ  รวมวางแผน  รวมดำเนินการ
                  และรวมติดตามประเมินผล นำไปสูการกำหนดเปนแนวคิด “แกนหมุน” ซึ่งเปรียบเสมือนฟนเฟองหรือพวงมาลัย
                  ของรถยนต ซึ่งเปนกลไกกลางที่จะหมุนเอากลุมผูใชน้ำ 7 ลุมน้ำสาขา มาเชื่อมโยงใหทำงานแบบมีสวนรวม
                  ทั้งตนน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ

                  ขั้นตอนการดำเนินงาน
                       ในระยะเริ่มตน กรมทรัพยากรน้ำ โดยสวน

                  ประสานและบริหารจัดการลุมน้ำ  สำนักงาน
                  ทรัพยากรน้ำภาค 1 กรมทรัพยากรน้ำ มีบทบาทเปน
                  ผูจัดการเครือขาย โดยสงเสริมใหเกิดการรวมกลุม
                  เครือขาย และเชื่อมโยงเครือขายเขาไวดวยกัน เกิดการ
                  แลกเปลี่ยนเรียนรู รวมไปถึงการมีสวนรวมบูรณาการ
                  กับหนวยงานอื่น ๆ ในการเพิ่มศักยภาพของผูนำในกลุม
                  เครือขาย ซึ่งมีการสรางความรูความเขาใจในเรื่องของ
                  การวางแผนโครงการและถายทอดเทคโนโลยี เชน
                  การนำขอมูลไปใชประโยชน (GIS) เปนตน                             ภาพจากกองสื่อสาร : ฝายตนน้ำ

                                                                    ในระยะตอมา กรมทรัพยากรน้ำไดพัฒนาศักยภาพ
                                                               ผูนำชุมชนตนแบบ ปรับวิถีชีวิตตามสถานการณวิกฤตน้ำ
                                                               ใหเปนตนแบบ  โดยถอดบทเรียนการดำเนินงานที่
                                                               บานสามขา ตำบลหัวเสือ อำเภอแมทะ จังหวัดลำปาง
                                                               ซึ่งหมูบานสามขาเปนหมูบานขนาดกลาง มีจำนวน
                                                               ประชากรประมาณ 700 คน ซึ่งในอดีตเคยไดสัมปทาน
                                                               ปาไม หลังสัมปทานปาไมสิ้นสุดลง หมูบานประสบ

                                                               ภาวะแหงแลง ชาวบานจึงขึ้นไปทำไรเลื่อนลอยบนเขา
                                                               ซึ่งเปนบริเวณปาตนน้ำทั้งหมด ระหวางป พ.ศ. 2523
                                                               ถึง พ.ศ. 2540 หมูบานไดประสบภาวะภัยแลงมาโดยตลอด
                                                               จึงไดมีการระดมความคิดเห็นและหาทางแกไขปญหา

                                                                                   ประมวลสาระนารูเรื่อง “น้ำ”  15
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20