Page 108 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 108
A3-202
19th HA National Forum
มาตรฐานนี้ standard intent คือ กาลังคนมีความผูกพัน มีแรงจูงใจและสร้างผลงานท่ีดี (staff engagement) process คือ 1) การกาหนดปัจจัย 2) การประเมินความผูกพัน 3) การปรับปรุงความผูกพัน
การกาหนดปัจจัยเป็นการนึกถึงสิ่งที่น่าจะมีผลต่อความผูกพัน แรงจูงใจและการสร้างผลงานของบุคลากร เช่น ปัจจัยเรื่องหัวหน้า ความก้าวหน้า เพ่ือนร่วมงาน การประเมินความผูกพันอาจใช้คาถามสาคัญที่เราอยากรู้ คือ บุคลากรของเราผูกพันกับองค์กรเพียงใด (สามารถแบ่ง เป็นระดับ) พึงพอใจต่อปัจจัยเหล่าน้ันอย่างไร การนาผลการประเมินไปใช้ประโยชน์จะต้องมีเงื่อนไขสาคัญ คือ ต้องประเมินปัจจัยให้ครอบคลุม ตาม process requirement เป็นปัจจัยที่มีผลจริง มีความเฉพาะกับกลุ่ม เป็นปัจจัย สาคัญ (เช่น ปัจจัยที่เฉพาะกับกลุ่มแพทย์ พยาบาล กลุ่ม back office) เมื่อประเมินแล้วจะทาให้ทราบว่า ปัจจัยด้านใดบ้างท่ียังต้องเพิ่มเติม/ปรับปรุงให้เหมาะสม ส่งผลให้บุคลากรกลุ่มนั้นผูกพัน กับองค์กรมากข้ึน ทางานได้ดีขึ้น นอกจากนี้จะทาให้ทราบว่าปัจจัยในตอนต้นท่ีคิดว่ามีผล แท้จริงแล้วเป็นปัจจัยที่มีผลหรือไม่ มากน้อยเพียงใด ส่วนกระบวนการปรับปรุงความผูกพัน process requirement คือ เชื่อถือได้ ใช้ประโยชน์ได้เป็นปัจจุบันวิธีที่ได้ผล ตรงประเด็น ทั่วถึง ดังนั้น ความสาคัญของการถอดรหัสมาตรฐานจึงอยู่ท่ี การสามารถเข้าใจและระบุส่ิงท่ีเก่ียวข้องกับมาตรฐานน้ันในทางปฏิบัติได้ และสารถนาไปใช้ ในการ action ทาให้เรามีความคิดท่ีเป็นระบบขึ้น
2. Core values & Concepts
ค่านิยมและแนวคิดหลัก
ค่านิยมและแนวคิดหลัก เป็น “หลักการ” ท่ีทาให้เรามีความลุ่มลึกในการทางาน core values & concepts เป็นส่ิงกากับเราอยู่ภายใน หรือเรียกว่าเป็น “เป้าหมายภายใน” ที่จะช่วยให้เราสามารถเดินตามขั้นตอนและแผนที่ (มาตรฐาน) อย่างแท้จริง
HA core value มี 5 กลมุ่ คอื ทศิ ทางนา ผรู้ บั ผล คนทา งาน การพฒั นา พาเรยี นรู้ โรงพยาบาลกอ็ าจมี core values ของตนเองอยู่ ขอใหใ้ ช้ core values ทงั้ สองนร้ี ว่ มกนั คา่ นยิ มเดมิ ทโี่ รงพยาบาลมอี ยใู่ หใ้ ชข้ องโรงพยาบาล สว่ นใดของโรงพยาบาลทขี่ าด ใหน้ า core values ของ HA ไปเสรมิ การพิจารณาเกี่ยวกับ core value มีตัวอย่างคาถาม คือ การพิจารณามาตรฐานส่วน Workforce engagement ควรนา core values ใดมาใช้ คาตอบคือ ควรนา “Value on staff” มาใช้ กล่าวคือ การให้คุณค่ากับบุคลากร คือ การที่เราคิดถึงคนในฐานะที่เป็น “ทรัพย์สินท่ีมี คณุ คา่ ขององคก์ ร” เมอ่ื คดิ วา่ บคุ ลากรมี “คณุ คา่ ” เราจะพยายามพฒั นา ปกปอ้ ง บา รงุ ใหม้ คี ณุ คา่ ยง่ิ ขนึ้ เมอ่ื คดิ ดงั นยี้ อ่ มจะชว่ ยหนนุ เสรมิ ใหท้ า เรอ่ื ง workforce engagement ได้ดีข้ึน core value ที่ควรนามาใช้ได้อีก คือ Continuous improvement เพราะการคิดเกี่ยวกับการพัฒนา อย่างต่อเน่ือง จะช่วยให้กลับมาพิจารณาว่ากิจกรรมการพัฒนาบุคลากรท่ีทาไป ได้ช่วยให้เกิด workforce engagement จริงหรือไม่ หากไม่ดีข้ึน ก็เป็นโอกาสกลับมาทบทวน หากเลือกค่านิยม Visionary leaderships มาใช้ จะปรากฏเป็นความพยายามทาให้ผู้นามี vision บางอย่างในระดับ การนา ทชี่ ว่ ยทา ใหเ้ กดิ ความกา้ วหนา้ ขององคก์ ร เชน่ ทา ใหผ้ นู้ า /หวั หนา้ มี vision ในการจดั การกบั บคุ ลากรทไี่ มร่ ว่ มมอื ผนู้ า จะหาวธิ ที า ใหค้ นเหลา่ นน้ั ปล่อยพลังที่เป็นประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนองค์กรออกมาแทนที่จะคิดว่าไม่ร่วมมือก็ปล่อยทง้ิหากเลอืกใช้คา่นิยมLearningandEmpowerment เพื่อทาให้การทางานดาเนินไปควบคู่กับการเรียนรู้และสามารถเสริมพลัง (empower) ให้คนทางานรู้สึกว่ามีอานาจในการตัดสินใจท่ีจะออกแบบ
และทาส่ิงใดๆ ในงาน ซ่ึงจะทาให้บุคลากรรู้สึกว่างานเป็นเรื่องน่าสนุกทาให้มีพลังในการทางาน รู้สึกผูกพันกับงานและรักในงานที่ทา
108 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)