Page 139 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 139
B3-202
19th HA National Forum
การเฝ้าระวังการติดเช้ือในโรงพยาบาล
การเฝ้าระวังการติดเช้ือในโรงพยาบาลมีเป้าหมาย คือ การพยายามรับรู้ความเสี่ยงหรือจุดเสี่ยงต่อการติดเช้ือ นา ไปสู่การป้องกันเพื่อให้ เกิดความปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วยและเจ้าหน้าท่ี (2P safety: patients and personnel safety) รวมถึงกลุ่ม ‘ผู้มาเยือน’ โรงพยาบาล การเฝ้าระวัง การติดเชื้อของโรงพยาบาลขนาดเล็กมักจะเน้นท่ีกระบวนการ ส่วนในโรงพยาบาลขนาดใหญ่จะเพิ่มความสาคัญของผลลัพธ์มากข้ึนเน่ืองจากจานวน ผู้ป่วยท่ีมากข้ึน คาถามชวนค้นหา ได้แก่ มีพื้นที่ส่วนใดของโรงพยาบาลที่เสี่ยงต่อการติดเช้ือ Hospital acquired infection เชื้ออะไรที่พบบ่อย ในการติดเช้ือแต่ละประเภท ความไวของเชื้อเป็นอย่างไร มีแนวทางป้องกันท่ีสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (evidence base) อย่างไร มีแนวทาง ปฏิบัติครบถ้วนหรือไม่ เมื่อปฏิบัติแล้วแนวโน้มของการติดเชื้อในโรงพยาบาลเป็นอย่างไร เป็นต้น
การเฝ้าระวังความคลาดเคล่อืนทางยา
เปน็ เรอ่ื งทสี่ า คญั มากเรอื่ งหนงึ่ ทที่ า ใหห้ ลายๆ โรงพยาบาลตดิ โฟกสั (focus) เปา้ หมายของการเฝา้ ระวงั ความคลาดเคลอื่ นทางยาคอื เพอื่ ให้ ทราบวา่ มโี อกาสเกดิ ความคลาดเคลอื่ นทางยาในกระบวนการใดบา้ ง ตงั้ แตส่ งั่ ยาจนถงึ ผปู้ ว่ ยรบั ยา หลมุ พราง (pit fall) ทพี่ บสว่ นใหญข่ องโรงพยาบาล ก็ คอื ระบบจดั การยาถกู ขบั เคลอ่ื นโดยเภสชั กรซงึ่ มกั concentrate กบั การจดั และจา่ ยยา แตจ่ ดุ สา คญั ซง่ึ มกั จะถกู มองขา้ มไป คอื ความคลาดเคลอื่ น ในการบริหารยา (administration error) จึงควรให้ความสาคัญกับทุกกระบวนการอย่างครอบคลุม โดยเฉพาะอย่างย่ิงการเร่ิมให้ยากลุ่มสาคัญ เช่น ยา antibiotics ในผู้ป่วยติดเชื้อ sepsis ยา Thrombolytic agent และยา High alert drugs ผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น คือ การปรับปรุงอันเป็นผลจาก การเฝ้าระวังดังกล่าว รวมถึงการใช้ประโยชน์จาก near miss event
การทบทวนเหตุการณ์สาคัญ
เป้าหมายเพ่ือกระตุ้นให้มีการทบทวนและจัดการกับปัญหาที่มีความรุนแรงอย่างเหมาะสม สิ่งท่ีเป็นโอกาสพัฒนาอย่างมาก คือ เบ้ืองต้น ต้องระบุให้ได้ว่าเหตุการณ์สาคัญน้ันเป็น adverse event หรือไม่ จากนั้นทบทวนโดยการทา RCA ประกอบด้วย 5 ข้ันตอน 1) เหตุการณ์นั้นคือ เหตุการณ์อะไร (Story and Timeline) 2) เหตุการณ์นั้นมีจุดเปล่ียนตรงไหนจุดที่ “ทา” หรือ “ไม่ทา” แล้วยังผลให้เกิดความเสียหายข้ึน (Potential Change) 3) การรบั ฟงั ขอ้ มลู จากผทู้ อี่ ยใู่ นเหตกุ ารณ์ (Listen to the voice of staff) โดยจะตอ้ งมวี ธิ กี ารทช่ี ว่ ยใหบ้ คุ ลากร (staff) สามารถ พดู ในสงิ่ ทตี่ อ้ งการพดู ไดอ้ ยา่ งสบายใจ 4) วเิ คราะหเ์ พอื่ หารรู วั่ ของระบบหรอื สง่ิ ทเี่ ปน็ ชอ่ งโหวใ่ หเ้ กดิ ความผดิ พลาด (Swiss Cheese) 5) ออกแบบระบบ หรือวิธีการอย่างสร้างสรรค์ (Creative solution) ในกระบวนการ RCA จะไม่มีใครที่กลายเป็นคนผิด แต่จะเกิดการปรับปรุงในเชิงระบบอย่างชัดเจน อันเป็นผลท่ีสืบเน่ืองมาจากการทบทวน
การทบทวนเวชระเบียน
การทบทวนเวชระเบียน เป็นการทบทวนให้สามารถใช้ประโยชน์จากเวชระเบียนสาหรับการสื่อสารในการดูแลผู้ป่วย เห็นช่องโหว่นาไปสู่ การปรับปรุง ช่วยให้เห็นเส้นทางการการดูแลผู้ป่วยทั้ง 6 กระบวนการ (6 care processes) และทาให้สามารถมองเห็นถึงคุณภาพการดูแลรักษา การทบทวนเวชระเบียนจะใช้ ตัวส่งสัญญาณ (trigger) ที่ทาให้มองเห็นว่าเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์อย่างไร มีการตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลง ของผู้ป่วยอย่างเหมาะสมหรือไม่ มีภาวะแทรกซ้อนหรือผลข้างเคียงเกิดขึ้นหรือไม่ รวมถึงการใช้เวชระเบียนเพื่อการสื่อสารระหว่างวิชาชีพ บางครั้ง ใช้ Momma test เป็นเครื่องมือช่วยการทบทวนให้เกิดความลึกซ้ึง
การทบทวนความรู้ทางวิชาการ
เปา้ หมายคอื เพอ่ื ใหม้ กี ารใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ (evidence) ทางวชิ าการทที่ นั สมยั (update) มาใชใ้ นการดแู ลผปู้ ว่ ย เนอื่ งจากกระบวนการ ดูแลผู้ป่วยคือการดาเนินการตามมาตรฐานโดยมี evidence based ทางวิชาการเป็นตัวสนับสนุน ตัวอย่างคาถามในการทบทวนการใช้ความรู้ ทางวิชาการ เช่น ปัจจุบันใช้แนวปฏิบัติ (guideline) ใดบ้างและปรับปรุงล่าสุดเมื่อใด guideline นั้นถูกสร้างข้ึนอย่างไร นามาใช้ได้จริงหรือไม่ มกี ารสอื่ สารเพอื่ การใชอ้ ยา่ งไรและมกี าร ควบคมุ กา กบั (monitor) ใหม้ กี ารใชจ้ รงิ อยา่ งไร เมอ่ื มกี ารใชจ้ รงิ แนวทางปฏบิ ตั นิ นั้ นา ไปสกู่ ารเปลย่ี นแปลง ที่ให้ผลลัพธ์อย่างไร
การทบทวนการใช้ทรัพยากร
เป้าหมายเพื่อให้เกิดการตัดสินใจใช้ทรัพยากรในการดูแลผู้ป่วยอย่างเหมาะสม คุ้มค่า อยู่บนพื้นฐานทางวิชาการ ไม่มากเกินไปจนสิ้นเปลือง ไม่น้อยเกินไปจนเกิดความเสี่ยง คาถามต่อยอดคือ แต่ละหน่วยงานมีการวิเคราะห์การใช้ทรัพยากรของตนเองหรือไม่ มองหาโอกาสปรับปรุง ประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรหรือมีข้อตกลงเพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าอย่างไร มีความพยายามปฏิบัติตามข้อตกลงโดยการใช้การ ทบทวนเป็นเครื่องมืออย่างไรบ้าง แนวคิดสาคัญ คือ ต้องคานึงถึงความคุ้มค่าในเชิงวิชาการและความคุ้มค่าในเชิงของการใช้ทรัพยากรของหน่วยงาน และในมิติของวิชาชีพอย่างเหมาะสม
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 139