Page 156 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 156
C1-202
19th HA National Forum
ทีมนาทางคลินิกจึงควรทาความเข้าใจ บทบาท หน้าท่ีของทีมในการมองภาพรวม จากข้อเสนอแนะซึ่งใช้คาว่า “ควรวิเคราะห์ผลทบทวน เหตุการณ์สาคัญ” ทีมก็ควรนาผลการทบทวนเหตุการณ์สาคัญที่เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์ เพ่ือวางแผน
พัฒนาตามมาตรฐาน และติดตามความก้าวหน้าอย่างต่อเน่ือง โดยเชื่อมโยงกับกระบวนการดูแลในมาตรฐานตอนที่ III เพ่ือให้สามารถ กาหนดการขับเคล่ือนพัฒนากระบวนการดูแลผู้ป่วยในแต่ละขั้นตอน เพื่อเพ่ิมความปลอดภัย
กระบวนการเย่ียมสารวจ ผู้เย่ียมจะต้องวิเคราะห์บริบทของโรงพยาบาลก่อนการเข้าเยี่ยมสารวจเสมอ เพ่ือประเมินระดับคุณภาพ ตามบรบิ ท ขนาดของโรงพยาบาลและทรพั ยากรทมี่ อี ยู่ จากนน้ั วางแผนการเยยี่ มสา รวจ โดยใชเ้ ปา้ หมายของมาตรฐานเปน็ กรอบในการยนื ยนั สงิ่ ทที่ า ได้ ดีหรือชื่นชม และส่วนที่ต้องทาเพิ่มเพ่ือเติมเต็มจะเขียนรายงานเป็นข้อเสนอแนะเพ่ือเป็นโอกาสพัฒนา ให้โรงพยาบาลนาไปพิจารณาปรับปรุงต่อไป
ดงั นน้ั ทมี งานในโรงพยาบาลจงึ ควรนา ขอ้ เสนอแนะทไ่ี ดร้ บั ไปพจิ ารณาวา่ สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานตอนใด ทา ความเขา้ ใจ และวเิ คราะหบ์ รบิ ท ขององค์กรให้ชัดเจน เพ่ือการวางแผนพัฒนาระบบงานได้อย่างเหมาะสมกับบริบทและตรงประเด็น
เติมเต็มส่วนที่โรงพยาบาลยังปฏิบัติตามมาตรฐานไม่สมบูรณ์ เช่น การทบทวนการดูแลผู้ป่วย การเช่ือมต่อระหว่างขั้นตอนท่ีขาดหายไป ต้ังแต่การเข้าถึงบริการจนถึงจาหน่ายผู้ป่วย การกาหนดกลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มโรคท่ีจะพัฒนาให้ชัดเจน การจัดลาดับความสาคัญในการทาแผนพัฒนา ภาพรวมโรงพยาบาล การนาแผนไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม
ถา้ สามารถวเิ คราะหบ์ รบิ ทตนเองตามประเดน็ ดงั กลา่ วขา้ งตน้ จนพบจดุ ออ่ นและจดุ แขง็ ได้ จะทา ใหส้ ามารถสง่ เสรมิ จดุ แขง็ ปรบั ปรงุ จดุ ออ่ น เขา้ สกู่ ระบวนการพฒั นาคณุ ภาพอยา่ งตอ่ เนอ่ื งในองคก์ ร สงิ่ สา คญั คอื ทมี ทา งานตอ้ งเขา้ ใจมาตรฐาน และสามารถเลอื กใชเ้ ครอื่ งมอื ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ปจั จบุ นั การจดั ทา แผนพฒั นาสว่ นใหญเ่ ปน็ แบบเชงิ รบั ซงึ่ หมายถงึ เมอื่ เกดิ ปญั หาแลว้ จงึ นา ปญั หามาวางแผนแกไ้ ขและพฒั นา แตถ่ า้ เปน็ การ วางแผนพัฒนาแบบเชิงรุกจะต้องมีการวิเคราะห์หาจุดอ่อนขององค์กร เช่น หน่วยงาน จุดบริการ หรือกลุ่มโรคสาคัญที่มีโอกาสเกิดปัญหาในการดูแล นา มาวางแผนพฒั นาใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทขององคก์ รตามลา ดบั ความสา คญั ของปญั หา ซงึ่ ตอ้ งมกี ารกา หนดเปา้ หมาย (Purpose) เพอื่ ชนี้ า การพฒั นา และประเมินความสาเร็จ โดยพิจารณานาปัญหาสาคัญในลาดับต้นๆ มาจัดทาแผนพัฒนาระยะสั้นใช้เวลาไม่ควรเกิน 1 ปี เพื่อเร่งการพัฒนา สาหรับ แผนพัฒนาระยะยาวใช้เวลาประมาณ 2-3 ปี เพราะจะทาให้เห็นความเปลี่ยนแปลงสู่เป้าหมายที่สอดคล้องกับมาตรฐาน โดยการกาหนดเป้าหมาย เพ่ือขับเคล่ือนการพัฒนาต้องคานึงถึงบริบทขององค์กร (Context) ต้องมีการกาหนดตัววัดเป็นปริมาณจะเพิ่มหรือลดจานวนเท่าไร ในช่วงเวลาใด สา หรบั ใชต้ ดิ ตามประเมนิ ความสา เรจ็ ใหช้ ดั เจน สงิ่ สา คญั คอื แผนพฒั นาตอ้ งมกี ารระบหุ นา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของแตล่ ะหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง และตอ้ ง มีการถ่ายทอดแผนสู่การปฏิบัติแบบบูรณาการ ผ่านการสื่อสารอย่างชัดเจนและมีประสิทธิภาพตามข้อกาหนดในมาตรฐานตอนท่ี II-1.1 การบริหาร
งานคุณภาพ (Quality Management) ท่ีประสานสอดคล้องกันทุกระดับในโรงพยาบาล
ดงั นนั้ การกา หนดเปา้ หมายเพอื่ ชนี้ า การพฒั นาจงึ ตอ้ งมององคก์ รอยา่ งรอบดา้ น เชน่ การดแู ลผปู้ ว่ ยสามารถกา หนดเปา้ หมายโดยพจิ ารณา
ผลลัพธ์ทางคลินิก (Clinical Effective) เน้น “ดูไข้” ในแต่ละกลุ่มโรค ต้องคานึงถึงความเหมาะสม (Appropriateness) ความต่อเนื่อง (Continuity) ความปลอดภัย (Safety) และทันเวลา (Timeliness) “ดูคน” คือ ผู้ป่วย (คน) เป็นศูนย์กลาง (People centeredness) วิธีการเข้าถึงงานบริการ (Access) การยอมรับ/ความพึงพอใจ (Acceptability) ความครอบคลุม (Coverage) ความเสมอภาค (Equity) และมีการตอบสนองความต้องการ (Responsiveness) สุดท้าย “ดูคุ้ม” หมายถึงประสิทธิภาพของการรักษา (Efficiency) จะเห็นได้ว่าการกาหนดเป้าหมายโดยพิจารณามิติคุณภาพ จะทาให้การออกแบบกระบวนการและกาหนดตัวช้ีวัดได้อย่างชัดเจนขึ้น เช่น Onset to rt-PA ในเวลา 4.5 ช่ัวโมง สะท้อนให้เห็นมิติคุณภาพเกี่ยวกับ Timeliness, Access, Safety เป็นต้น นอกจากนี้การใช้มิติคุณภาพมากาหนดเป้าหมายยังทาให้สามารถวิเคราะห์ผลกระทบหรือปัจจัยที่เกี่ยวข้องได้ เช่น ประเด็นคุณภาพที่ ER คือ Timeliness สามารถวิเคราะห์ได้ว่าอะไรที่เป็นสาเหตุทาให้งานบริการของ ER ล่าช้า เพราะรับคนไข้จา นวนมาก ท้ังท่ีมีภาวะฉุกเฉิน (Emergency) และไม่ฉุกเฉิน หรือระบบคัดกรองผู้ป่วย (Triage) ไม่มีประสิทธิภาพ จะเห็นได้ว่าการนามิติคุณภาพมาพิจารณา จะทาให้ไม่ติดอยู่กับตัวชี้วัดแต่จะสามารถมองประเด็นคุณภาพงานได้กว้างขึ้น ทาให้การแก้ปัญหาหรือการพัฒนาครอบคลุมประเด็นความเสี่ยง ที่อาจเกิดข้ึนในระบบบริการได้มากข้ึน
156 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)