Page 157 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 157

C1-202
19th HA National Forum
  นอกจากน้ียังมี Driver Diagram ซ่ึงเป็นอีกหนึ่งเคร่ืองมือสามารถนามาใช้เพ่ือกาหนดเป้าหมายและตัววัดความก้าวหน้าในการพัฒนา ของแต่ละประเด็นได้อย่างชัดเจน Driver Diagram เป็นแผนภูมิที่แสดงความสัมพันธ์ของปัจจัยท่ีมีผลต่อความสาเร็จตามเป้าหมายโดยจาแนกเป็น ลาดับชั้นจากปัจจัยขับเคล่ือนไปสู่แนวคิดการปรับเปลี่ยน ทาให้มองเห็นภาพรวมของแนวทางการพัฒนาที่จะเกิดขึ้น ช่วยตรวจสอบความสมบูรณ์ ของสิ่งท่ีจะทา “WHY” ทาให้มีการปฏิบัติอย่าง คงเส้นคงวาและมีผลลัพธ์ท่ีคาดหวังได้ “HOW” โดยระบุกระบวนการสาคัญ (key Process) ซ่ึงควรใช้ top down flowchart ร่วมกับตาราง กาหนด process requirement จากการวิเคราะห์ NEWS (Need & Experience of Patients, Evidence & Professional Standards, Waste, Safety) กาหนดตัวช้ีวัดของกระบวนการ (ตามสมควร) ออกแบบกระบวนการ (Process Design) โดยกาหนดกลุ่มเป้าหมายหรือขั้นตอนสาคัญ มองหาองค์ความรู้ทั้ง Explicit & Tacit knowledge ใช้เป็นหลักในการออกแบบตามวงล้อ PDCA จัดทาคู่มือระบุข้ันตอนปฏิบัติและผู้รับผิดชอบ กรณีมีทางเลือกต้องระบุเงื่อนไขและเกณฑ์การตัดสินใจ พร้อมสื่อสารนาไปสู่การปฏิบัติงานจริง โดยเนน้ ผปู้ ฏบิ ตั ติ อ้ งรบั รู้ และงา่ ยตอ่ การปฏบิ ตั ติ าม (Simplicity) กรณมี คี วามเสยี่ งอาจนา visual management และ Human Factor Engineering มาช่วยป้องกันความผิดพลาดจากข้อจากัดของความเป็นมนุษย์ (Human Error) เพ่ือลดอุบัติการณ์ความเส่ียงท่ีอาจเกิดขึ้นได้ในระบบบริการ
จากการออกแบบกระบวนการ (Process Design) มาสู่การนาไปใช้งาน (Deployment) ต้องมีกลไกรับรู้ ทาให้มั่นใจว่ามีการปฏิบัติตาม คู่มือปฏิบัติหรือแนวทางที่กาหนดจริง ซึ่งส่วนใหญ่จะมีปัญหาการติดตามและประเมินผล ดังน้ันการวางแผนกากับติดตามการพัฒนาโดยต้องกาหนด ผู้รับผิดชอบให้ชัดเจนจึงเป็นสิ่งสาคัญ เช่น แผนพัฒนาการดูแลผู้ป่วยรายโรคจะมอบหมายผู้รับผิดชอบกากับให้ผู้เกี่ยวข้องปฏิบัติตามแผนที่กาหนด มีการเชื่อมโยงกับศูนย์พัฒนาคุณภาพ เพื่อนาเสนอข้อมูลให้ทีมนาสูงสุดรับทราบและร่วมวางแผนติดตามความก้าวหน้าของการพัฒนาตามรอบเวลา ท่ีกาหนดในแผนพัฒนา โดยแต่ละทีมท่ีรับผิดชอบต้องมีการรายงานตัวชี้วัดความสาเร็จ ปัญหา อุปสรรค เป็นรายเดือน และต้องมีการสริมพลังให้ทีม สามารถเลือกใช้เครื่องมือ Learning & Feedback Loop ท่ีจะทาให้สามารถเรียนรู้ และเข้าใจเม่ือเกิดปัญหาหลังจากถ่ายทอดแนวทางปฏิบัติมาสู่ การใช้งานจริง (Deployment) เพ่ือนามาปรับปรุง input & process ทาให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยอาจสุ่มเข้าไปพูดคุยกับบุคลากรในหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ประเมินว่าทีมรับรู้บทบาทของตนเองมากน้อยเพียงใด สร้างการเรียนรู้ร่วมกัน นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ ข้อมูลใดท่ีไม่ชัดเจนนามาทา Focus group จะทา ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ทช่ี ดั เจนเพมิ่ ขนึ้ การสา รวจ เพอ่ื การรบั รภู้ าพรวม โดยใชก้ ลมุ่ ตวั อยา่ งไมต่ อ้ งมากประมาณ 50 Case กเ็ พยี งพอ สา หรบั คาถามไม่ควรเกิน 10 ข้อ และควรสอดคล้องกับเป้าหมายของการพัฒนา ใช้เวลาสารวจไม่ควรเกิน 1 สัปดาห์ นอกจากนี้ยังมีวิธีการตามรอยแผนการ พัฒนาโดยติดตามผลลัพธ์ (Result) ความสาเร็จ ซึ่งตัวชี้วัดเหล่านี้อาจส่งมาจากกลุ่มการพยาบาล หรือมาจาก PCT สุดท้ายเป็นสิ่งท่ี Surveyor อยากเห็น คือ ตัวชี้วัดที่ได้มาจากกลุ่มโรคเป้าหมายตามการชี้นาของ PCT และบริบทของโรงพยาบาลโดยมีการกาหนดเกณฑ์วัดไว้อย่างชัดเจน ซ่ึงอาจขอดูได้จากเอกสารที่มีการใช้ระบบ IT มาสนับสนุน จะเห็นได้ว่าการวัดวิเคราะห์มีเครื่องมือที่หลากหลายสามารถนามาประยุกต์ใช้ทา rapid assessment เพื่อค้นหาปัญหา ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนา และใช้ตรวจสอบประสิทธิภาพ (Performance) ในแต่ละขั้นตอนของแผนการ พัฒนาเพ่ือการปรับปรุงกระบวนการขับเคลื่อนให้การพัฒนาบรรลุเป้าหมายท่ีกาหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 157
 





























































































   155   156   157   158   159