Page 162 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 162
C2-202
19th HA National Forum
ความเช่ือมโยงจากงานประจาสู่วิสัยทัศน์
พบว่าใน Information Value Chain ซ่ึงประกอบด้วย Data - Analysis- Information - Action - Outcomes มีจุดอ่อนคือที่หน้างาน มักมีแต่ การรายงาน data แต่ขาดการวิเคราะห์ (analysis) และไม่ได้ถูกนาไปใช้ในการพัฒนา ซึ่งในมาตรฐาน HA ตอนที่ I-IV การวัด วิเคราะห์และ จดั การความรู้ มเี ปา้ หมายท่ี Organization Efficiency & Effectiveness เรมิ่ ตน้ จากการเลอื กตวั ชวี้ ดั ทสี่ า คญั ครบถว้ น มี alignment (KPI Selection & Alignment) และต้องมีการวัดท่ีสม่าเสมอ ได้ข้อมูลน่าเช่ือถือและเชื่อมโยงกัน (KPI Measurement & Integration) นาไปสู่การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) ที่เหมาะสม เพ่ือให้สามารถนาผลการวิเคราะห์ไปใช้ประโยชน์ (Priority for Improvement) ที่สาคัญคือการนาไปใช้ประโยชน์ ในการตัดสินใจ (Support Decision Making & Innovation)
การใช้ KPI เพ่ือประโยชน์ในการดาเนินงานขององค์กร มีดังนี้
• เพ่ือตรวจสอบสถานะ (check position) ว่าองค์กรอยู่ ณ ตาแหน่งใดในการแข่งขัน
• เพ่ือสื่อสารสถานะ (communicate position) ให้คนในองค์กรยอมรับและไปในทิศทางเดียวกันและตัดสินใจด้วยข้อเท็จจริง • เพื่อยืนยันและจัดลาดับความสาคัญของปัญหา (confirm priorities)
• เพื่อตรวจสอบและติดตามความก้าวหน้า ควบคุมการดาเนินการให้เป็นไปตามเป้าหมาย
Performance Measurement ข้อพิจารณาในการวัด Process กับ Outcome คือ
• Process Indicator บอกถึงส่ิงท่ีถูกต้องโดยมี evidence based หากไม่มี evidence based รองรับให้พิจารณาตัดตัวชี้วัดตัวนี้ ออกไปก่อนเพื่อลดภาระในการเก็บข้อมูล
• Outcome Indicator บอกถึงสิ่งที่ควรทา การกาหนด Leading Indicator ต้องมี evidence based ท่ีจะบอกถึง Lagging Indicator ซ่ึงแสดงถึงความสัมพันธ์เช่ือมโยงกัน
• Structure Indicator จะบอกถึงการจัดสรรทรัพยากรที่จาเป็น โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน Service Plan จะต้องพิจารณาถึง Efficiency Indicator
Take Home Massage ประเด็นที่ควรมีการทบทวน ได้แก่
• มีการระบุความท้าทายขององค์กรชัดเจนหรือไม่
• วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์สอดคล้องกับความท้าทายหรือไม่ ครอบคลุมความท้าทายสาคัญหรือไม่
• ควรต้องมีการวิเคราะห์โอกาสเชิงกลยุทธ์ ลดการใช้ประโยชน์จาก Intellectual Risk Taking อย่างไร
• แผนกลยทุ ธม์ กี ารจดั ระบบและหมวดหมทู่ เี่ ขา้ ใจงา่ ย มลี า ดบั ชนั้ ของวตั ถปุ ระสงค์ และกา หนดความคาดหวงั ของวตั ถปุ ระสงคช์ ดั เจนหรอื ไม่ • มีตัวช้ีวัดท่ีวัดการบรรลุวัตถุประสงค์แต่ละระดับหรือไม่
• มีการกาหนดวิธีการประเมินการบรรลุวัตถุประสงค์อื่นๆ ในกรณีที่ไม่เหมาะที่จะใช้ตัวชี้วัดหรือไม่ เพ่ือรับรู้ความสาเร็จและจุดปรับปรุง
บทส่งท้าย
Strategic Line of Sight มีความสาคัญในกระบวนการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ เนื่องจากกระตุ้นให้ทุกคนในโรงพยาบาลสนใจต่อประเด็นท่ี โรงพยาบาลต้องการบรรลุความท้าทายเฉพาะ หรือปัญหาสาคัญที่โรงพยาบาลต้องแก้ไข พร้อมทั้งส่งเสริมให้ทีมนาเฉพาะด้านหรือทีมระบบงานและ หน่วยงานออกแบบระบบหรือกระบวนการงานตอบสนองต่อประเด็นภาพใหญ่ของโรงพยาบาลเพื่อให้ทั้งโรงพยาบาลมีการดาเนินงานสอดคล้องกัน อย่างมีบูรณาการไปสู่วิสัยทัศน์ที่ตั้งไว้ ทั้งนี้เพ่ือให้ Strategic Line of Sight เกิดประโยชน์ในด้านการปฏิบัติ จึงจาเป็นต้องเช่ือมโยงกับกระบวนการวัด วิเคราะห์และการปรับปรุงผลงาน (Performance Measurement) ตั้งแต่การกาหนดตัวช้ีวัดให้สะท้อนประเด็นท่ีต้องการบรรลุ มีบูรณาการกัน ทุกระดับ และที่สาคัญคือต้องมีกระบวนการวิเคราะห์เชื่อมโยงกับการพัฒนาคุณภาพที่เกิดข้ึน นามาสู่การจัดลาดับความสาคัญ หาโอกาสพัฒนา และออกแบบกระบวนการงานใหม่อย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงเวลา สามารถวัดซ้าและติดตามความก้าวหน้าได้ และสร้างการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
162 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)