Page 232 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 232

A2-205
19th HA National Forum
 กลุ่มผู้ป่วยสูงอายุ
1. SSRI เป็น first line ในการรักษาโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ และผู้ป่วยที่มีโรคทางกายร่วมด้วย (co-morbid medical illness) ควรระวัง การเกิด hyponatremiaและ gastro-intestinal bleed (Grade A)
2. ข้อแนะนาในการให้ยาแก่ผู้สูงอายุ คือ “เร่ิมด้วยขนาดต่า ปรับยาขึ้นอย่างช้าๆ คงการรักษาให้นานกว่าปกติ”(start low, go slow, keep going, stay longer)”และควรพิจารณาถึงผลข้างเคียงของยาแต่ละชนิดก่อนทุกครั้ง (Grade A)
กลุ่มหญิงตง้ัครรภ์
1. การให้ยากลุ่ม SSRI ในหญิงตั้งครรภ์ มีความปลอดภัยกว่ายากลุ่ม Tricyclic antidepressants (TCA) แต่บางรายอาจมีความเสี่ยงต่อ ทารกคลอดก่อนกาหนด (Grade B)
2. SSRI อาจทาให้เกิด SSRI withdrawal syndrome ในไตรมาสที่ 3 (Grade C)
3. ไม่แนะนาให้ใช้ paroxetine ในหญิงต้ังครรภ์ เน่ืองจากมีความเสี่ยงในการคลอดก่อนกาหนด และการเกิด congenital cardiac mal- formation ในทารก (Grade A)
4. ควรระวังผลข้างเคียงจากการใช้ยา antidepressant ในกลุ่ม TCA กับหญิงตั้งครรภ์ เนื่องจากทาให้ท้องผูก และความดันโลหิตต่าในขณะเปลี่ยนท่า (Grade C)
5. ควรระวังการให้ยาในกลุ่ม SSRI เพราะเสี่ยงต่อการเกิด septal heart defects ในทารก (Grade C) Under Recognized Adverse
Effects of Commonly Used Antidepressants in Practice
ผศ.ธนรัตน์
สรวลเสน่ห์
เป้าหมายของการรักษาโรคซึมเศร้า คือ ให้ผู้ป่วยกลับสู่ภาวะปกติ หายต้ังแต่คร้ังแรกที่รักษา การรักษาที่ดีท่ีสุดคือ การให้ยา เมื่อผู้ป่วยเกิด อาการของโรค จะมีระดับอารมณ์ลดลงอย่างรวดเร็ว ดังแสดงในกราฟ ซึ่งยาต้านเศร้าที่ใช้ในการรักษาพบว่า มีประสิทธิภาพใกล้เคียงกันทุกตัว (คือ ทาให้มีผู้ตอบสนองต่อยาได้ประมาณร้อยละ 50) เป้าหมายเบ้ืองต้นของการให้ยา คือ เพ่ือทาให้อาการของโรคซึมเศร้าดีขึ้น โดยมีอาการลดลง อย่างน้อยร้อยละ 50 จากก่อนเริ่มการรักษา ซึ่ง ณ เวลาดังกล่าว ผู้ป่วยและญาติส่วนใหญ่จะรู้สึกว่าการท่ีอาการดีขึ้น คือ การหายจากโรคท่ีเป็นแล้ว แต่แท้จริงไม่เป็นตามนั้น การที่จะหายขาดจากโรคซึมเศร้าได้ จะต้องมีระดับอารมณ์กลับไปใกล้เคียงกับก่อนจะเกิดโรคขึ้น (เส้นสีเหลือง) และคงอยู่ได้นาน ระดับหน่ึประมาณ 4-9 เดือน (เส้นสีชมพู) หากหยุดการรักษาก่อน อาการแสดงของโรคอาจกลับมาเกิดขึ้นใหม่ และจะทาให้การรักษายากขึ้นได้
แนวคดิ ของการรกั ษาดว้ ยยาในผปู้ ว่ ยทปี่ ว่ ยเปน็ โรคซมึ เศรา้ ตอ่ เนอ่ื งนาน6เดอื นภาพสแกนสมองผปู้ ว่ ยจะพบวา่ สมองสว่ นhippocampus ที่เป็นส่วนความจา ความคิด สติปัญญา มีความผิดปกติฝ่อ การศึกษาพบว่า การฝ่อของสมองเกิดจากการจากที่มีปริมาณโปรตีนที่ช่วยให้เซลล์มีชีวิต ที่เรียกว่า BDNF มีปริมาณลดลง ซ่ึงอาจเกิดจากการทางานของสารสื่อประสาทที่บกพร่อง (serotonin, norepinephrine, dopamine) จึงส่งผล ให้เกิดการตายของเซลล์ประสาทข้ึน ดังนั้น การรักษาด้วยยาจึงหวังผลให้มีการเพ่ิมขึ้นของสารสื่อประสาทชนิด serotonin, norepinephrine หรือ dopamine และเพิ่มปริมาณของ BDNF ซึ่งจะต้องใช้เวลาอย่างน้อย 4-8 สัปดาห์ จึงจะสามารถเพิ่มระดับของ BDNF ได้อย่างเต็มที่
  232   สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)


















































































   230   231   232   233   234