Page 262 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 262

B3-205
19th HA National Forum
  ภญ.วิมล อนันต์สกุลวัฒน์
วิทยากรได้ตั้งปัญหาเกริ่นนาเข้าสู่เนื้อหา ดังน้ี ท่านเคยพบปัญหาอาทิเช่น จานวนคนทางานไม่เพียงพอ มีคนลาคลอด เร่ืองที่ต้องทามีเยอะ มีงานแต่หาคนทาไม่ค่อยได้ หรือไม่? หรือ ผู้บริหารส่ังว่าคลังยาห้ามสารองยาเกิน 15 วัน และห้องยาถ้ารวมทุกห้องแล้วไม่ควรสารองยาเกิน 15 วัน เช่นกัน ท่านจะทาอย่างไร? (ท่ีโรงพยาบาลศิริราชสารองยา 15 วันราคายาประมาณ 200 ล้านบาท) แนวทางแก้ไขปัญหาที่กล่าวมาน้ีสามารถแก้ไข ได้โดยการใช้ Lean concept ซึ่งวิทยากรแต่ละท่านจะได้นาเสนอต่อไป
ภญ.ศุณิชา ลม้ิ กอปรไพบูลย์
โรงพยาบาลศิริราช ได้เร่ิมมีการใช้ Lean ในปีพ.ศ.2551 โดย รศ.นพ.วิศิษฎ์ วามวาณิชย์ ร่วมกับ รศ.นพ.เชิดชัย นพมณีจารัสเลิศ ฝา่ ยเภสชั กรรมไดเ้ ขา้ รว่ มกระบวนการ Lean ในปี พ.ศ. 2553-2554 ระยะแรกไดจ้ ดั อบรมใหค้ วามรเู้ กยี่ วกบั เรอ่ื ง Lean ในฝา่ ยเภสชั กรรม ซงึ่ มหี นว่ ย งานท่ีให้คาแนะนาเร่ือง Lean และการประยุกต์ใช้ concept Lean ในการปรับปรุงกระบวนการจ่ายยาท่ีห้องยาอายุรศาสตร์ ห้องยา 102,103 และ OBG จัดทาโครงการศิริราชก้าวไกล ส่งยาท่ัวไทยทางไปรษณีย์ ในปีพ.ศ. 2558 ได้รางวัล Lean Thailand Award (golden) หลังจากน้ัน Lean ได้ ถูก implement เป็นนโยบายของโรงพยาบาลศิริราช
Lean คือ การแปรเปล่ียนความสูญเปล่า (waste) ให้เป็นคุณค่า (value) ในมุมมองของผู้รับบริการ (VOC) อย่างไม่มีท่ีส้ินสุด (CQI) ผู้รับบริการในท่ีน้ีหมายถึง คนไข้ ญาติ แพทย์ พยาบาล เป็นต้น
การประเมินคุณค่า (value) ทาได้โดยใช้วิธีการสังเกตจากผู้รับบริการท่ียินดีจ่ายเงินค่าบริการ ให้ความสนใจ และให้เวลากับงานบริการ หรือผลิตภัณฑ์ ในส่วนของกิจกรรมต้องเป็นกิจกรรมท่ีเพ่ิมคุณค่า และต้องทาอย่างถูกต้องต้ังแต่คร้ังแรก เช่น accessibility (การเข้าถึง) timeliness (ความรวดเร็ว/ทันการณ์) appropriateness (ความเหมาะสม) effectiveness (ประสิทธิผล) efficiency (ประสิทธิภาพ) humanized/holistic (องค์รวม/ดูแลด้วยหัวใจ) responsiveness (การตอบสนอง) และ safety (ความปลอดภัย)
Value stream (สายธารแหง่ คณุ คา่ ) สรา้ งสายธารแหง่ คณุ คา่ ในทกุ ๆ ขน้ั ตอนของการดา เนนิ งาน ตงั้ แตก่ ารออกแบบ วางแผน เพอ่ื พจิ ารณา ว่ากิจกรรมใดท่ีไม่เพิ่มคุณค่า และเป็นความสูญเปล่า
ความเข้มแข็งของสายธารจะเท่ากับจุดท่ีอ่อนแอที่สุด (A chain is only as strong as its’ weakest link) จากการทบทวนสายธารการให้ บรกิ ารผปู้ ว่ ยใน เรมิ่ จากกระบวนการแพทยส์ ง่ั ยา(order) > พยาบาลรบั order การสง่ั ยา > delivery รบั ใบสงั่ ยาจากพยาบาลมาสง่ หอ้ งยา > เภสชั กร ตรวจสอบยา > delivery นายาส่งบนหอผู้ป่วย > พยาบาล admin ยา พบว่ากระบวนการ เภสัชกรตรวจสอบยา เป็นจุดท่ีต้องเฝ้าระวังมากท่ีสุด
การเขียนแผนท่ีสายธารแห่งคุณค่า (value stream mapping, VSM) เร่ิมจากการทาความเข้าใจกระบวนการทางานโดยละเอียด ระบุเจ้า หน้าที่/ผู้ป่วย และผู้ท่ีเก่ียวข้องในกระบวนการทางาน (SIPOC) เข้าไปดูสถานท่ีจริงด้วยตนเอง ใส่ข้อมูลเก่ียวกับระยะเวลาท่ีใช้ในแต่ละกระบวนการ (process time) และระยะเวลารอคอยในแตล่ ะขน้ั ตอน (delay time)รวมทง้ั ประเดน็ คณุ ภาพ (CQI) หรอื ปญั หาทพี่ บ (defect) ในแตล่ ะกระบวนการ โดยใช้ข้อมูลท่ีมีอยู่ในระบบหรือจากการเก็บรวบรวมข้อมูล ระบุคุณค่า และความสูญเปล่าในมุมมองของผู้รับบริการ (DOWNTIME)
SIPOC เป็นการกาหนดของเขตการทางานอย่างชัดเจน ให้เห็นภาพรวมของกระบวนการทางาน ทาให้คนทางานเข้าใจวัตถุประสงค์และ ขอบเขตของงานมากข้ึน ประกอบด้วย Suppliers/providers (บุคคลภายในและภายนอกท่ีส่งมอบปัจจัยนา เข้าหรือทางานให้กับกระบวนการ), Input (ปัจจัยท่ีจาเป็นเพ่ือให้กระบวนการเสร็จสมบูรณ์: ทรัพยากรกายภาพและข้อมูลข่าวสารต่างๆ), Process (จุดเร่ิมต้นและจุดส้ินสุด เจ้าของ กระบวนการ ผู้สนับสนุน), Output(ประโยชน์/ผลผลิต/ผลลัพธ์จากการปรับปรุงกระบวนการ) และ Customer (บุคคลภายนอกและภายใน ใครก็ตามท่ีได้รับผลลัพธ์ (output) จากการเล่ือนไหล)
 262   สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)






















































































   260   261   262   263   264