Page 434 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 434
A4-106
19th HA National Forum
ดาเนินการทบทวนระบบ สร้าง Flow ใหม่ เข้าสู่ ศิริราช 4.0 นาตู้โค้กมาออกแบบโดยมีกระบวนการ เบิกจ่าย คือ
1) Scan ID card เจ้าหน้าท่ี 2) Scan barcode/กด HNผู้ป่วย 3) เลือกของทีละช้ิน 4) Confirm 5) Receiptเป็น barcode รวม เมื่อของ หมดตู้ห้องยาก็มาเติมให้หน่วยงาน ไม่ต้องมีการ Supply ของ ไม่ต้องเสียเวลามาตรวจสารวจวันหมดอายุ คาดว่าจะเสร็จในเดือนมิถุนายน 2561 เร่ิม ดาเนินการจัดให้มี 2 ตู้คือตู้เวชภัณฑ์และตู้น้าเกลือ
การพฒั นาทหี่ อ้ งฉกุ เฉนิ มกี ารพฒั นาเรอื่ ง Fast Track ตา่ งๆ โดยเรมิ่ ตงั้ แตป่ ี 2557 ในผปู้ ว่ ย Stroke fast track การใหย้ าละลายลมิ เลอื ดตอ้ ง ให้ภายใน 60 นาทีที่ผ่านมาเวลาจะฉิวเฉียดตลอดไม่เคยมีการปรับ Flow มีการทบทวนกับ Stroke unit จะทาอย่างไรให้เร็วข้ึนเดิมมี 7 ข้ันตอน ดังน้ี 1. เริ่มจากการคัดกรอง ปรึกษาแพทย์ว่าต้องการอะไรบ้างท่ีบ่งบอกว่าอาการท่ีเกิดขึ้นคืออาการของผู้ป่วย Stroke จึงได้อาการที่บ่งบอก
ถึง Stroke 7 อาการ
2. ทา Quick set up ดูว่าเม่ือผู้ป่วยมาถึง เอกสารควรมีอะไรบ้าง
3. มีการให้ความรู้เพื่อทาให้เกิด Awareness มีการจัดทา Stroke awareness card เน่ืองจากอาการเหล่านี้อาจเกิดที่ห้องผู้ป่วยนอกหรือ
หอผู้ป่วยในมีการแจ้งให้ทราบว่าถ้าเกิดอาการเหล่านี้ให้ส่งมาห้องฉุกเฉิน
4. ปรับระบบการตามแพทย์ซ่ึงเดิมพยาบาลต้องตามแพทย์ทุกแผนกที่เกี่ยวข้อง จึงปรับเป็นพยาบาลโทรแจ้งที่งานสื่อสารของศูนย์แพทย์
จากนั้นจะมีการตาม Neurologist, Radiologist, Intervention และตามงานเคล่ือนย้าย คนไฃ้ก็จะได้รับการดูแลด้วยความรวดเร็ว
5. ปัญหาเรื่องเวลาแต่ละท่ีนาฬิกาจะไม่ตรงกัน จึงจัดทา Stroke clock ไปตรงไหนเวลาจะได้เป็นเวลาเดียวกัน เนื่องจากเราไม่สามารถตั้ง
เวลาให้ทุกหอผู้ป่วยเป็นเวลาเดียวกันได้ 6) มีการพัฒนาการลงเวลาเป็น Application แผนดาเนินงานเริ่มมิถุนายน 2561 ผลการดาเนินงานพบว่าใน ปี 2560 Door to CT ภายใน 25นาทีถึง 87% ที่โรงพยาบาลศิริราชห้อง CT Scan อยู่คนละชั้นกับห้องฉุกเฉิน ทาให้อาจต้องใช้เวลาเพิ่มข้ึนต่างจากโรงพยาบาลอื่นท่ีห้อง CT อยู่ใกล้ห้องฉุกเฉิน เวลาที่ได้คือ Door to needle timeได้ 31นาทีได้ 91% ซึ่งจาก
ผลงานนี้ปีหน้าจะส่งชิงรางวัล HA Forum
นพ.ศรัทธา
ริยาพั นธ์
ปัญหาต่างๆ มีความซับซ้อนวุ่นวายมาก มีการมองภาพใหญ่คือการแก้ปัญหาห้องแพทย์เวร - ห้องฉุกเฉิน แต่การแก้ปัญหาเร่ิมจากการแก้ ปญั หาในจดุ เลก็ ๆ ทลี ะจดุ ไปเรอื่ ยๆ ซง่ึ ในการแกป้ ญั หา ไมไ่ ดเ้ รมิ่ 1 เดอื น แลว้ เสรจ็ ทกุ project แตล่ ะงานมรี ะยะเวลาดา เนนิ การ มกี ารพฒั นามา 4-5 ปี การคน้ หาปญั หา เรมิ่ จากคา ถาม “อะไรทที่ า ใหเ้ กดิ การทา งานซา้ ซอ้ น อะไรทเี่ รยี กวา่ Waste?” ถา้ พดู ถงึ LEAN สง่ิ แรกทน่ี กึ ถงึ คอื WASTE (ขยะ) สิ่งที่จะนาเสนอต่อไปนี้ก็คืออะไรที่เรียกว่า Waste ที่ห้องฉุกเฉิน ในการจัดการ Waste ทุกอย่างทีเดียว ก็เป็นเรื่องยาก เราจึงต้องเริ่มจากจุด
เล็กๆ ทาไปเร่ือยๆ ก็จะทาให้การดูแลผู้ป่วยดีขึ้น เมื่อพูดถึง Waste ก็ต้องนึกถึง DOWNTIME
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 434