Page 185 - Bright spot ปี 2561
P. 185
185
BRIGHT SPOT
ให้พี่ๆ คอยเป็นพี่เลี้ยงคู่กับน้อง พอครบ 4 เดือนก็หมุนแผนกไปเรื่อยๆ
ี
ั
ื
เม่อครบ 1 ปีก็จะประเมินอีกคร้งว่ายังต้องการอยู่ในหน่วยท่เลือกครั้งแรก
�
อยู่หรือไม่ ตรงน้น้องๆ สามารถเปล่ยนใจได้ ก็เป็นอีกจุดท่ทาให้เขา
ี
ี
ี
พอใจ” นางวชิรา กล่าว
ทั้งนี้ หลังจากด�าเนินการไปได้ 1 ปี พบว่า ส่วนที่มีปัญหามากที่สุด
ี
ี
แทนท่จะเป็นตัวน้องๆ กลับกลายเป็นหัวหน้าตึกและตัวพ่เล้ยงเสียเอง
ี
ี
ื
เน่องจากต้องเปล่ยนคนทุก 4 เดือน ปีต่อมาจึงต้องเตรียมในส่วนของ
ื
ี
ี
�
หัวหน้าและพ่เล้ยง มีการปรับทัศนคติและนาคู่มือมาใช้เพ่อบอก Scope
ของงานเพ่อให้เทรนน้องๆ ไปในทิศทางเดียวกัน จนกระท่งปีท่ 3
ี
ื
ั
ทุกอย่างจึงเป็นไปอย่างราบรื่น
�
นางวชิรา กล่าวว่า การนาระบบ Job Rotation มาใช้ช่วยแก้ปัญหาการ
ขาดแคลนพยาบาลเม่อมีการขยายงานใหม่ได้อย่างชะงัด เช่น ในส่วนของ
ื
ั
ึ
่
้
่
ICU ตองใชพยาบาล 7 คน กใชวธดงตวจากหนวยตางๆ มาหนวยละ 1 คน
่
้
็
ิ
ี
้
หน่วยงานที่โดนดึงคนก็จะมีก�าลังคนลดลง มีจ�านวนเวรเท่าเดิม แต่ยังมี
ี
�
ื
สมรรถนะเพียงพอท่จะทางานต่อไปได้เน่องจากสามารถหมุนพยาบาล
จากหน่วยอ่นมาช่วยงาน สมมติ ER ขาดคน ก็สามารถหมุนพยาบาลจาก
ื
ฝ่ายผู้ป่วยในมาขึ้นเวรที่ ER ได้ เป็นต้น
“เพราะเรามีคนน้อยจึงต้องการความร่วมมือช่วยเหลือกัน วิธีน ี ้
ี
ี
�
เป็นการแก้ปัญหาท่ตอบโจทย์การร่วมมือกันทางาน ตอนน้น้องๆ
สามารถท�างานได้ทุกตึกที่มีคนขาด เพราะฉะนั้น แม้จะมีวิกฤตขาดคน