Page 18 - KM Master Plan 2564
P. 18
ส าหรับองค์ความรู้ เรื่อง “ความเสี่ยงในการปฏิบัติงานโดยใช้ความรู้เป็นฐาน” เป็นหนึ่งในขอบเขตองค์
ความรู้ (KM Focus Area) ที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการธนาคาร ให้มีการจัดเก็บ และเผยแพร่ให้
ั
พนักงานทราบอย่างทั่วถึง ทั้งนี้ การส่งเสริมการพฒนาและปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงาน และการสร้างความ
ตระหนักถึงความเสี่ยงในการปฏิบัติงานโดยใช้ความรู้เป็นฐาน เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทการจัดการความรู้ด้วย
1.1.9 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาอย่างยั่งยืนระยะ 10 ปี (ปี 2564-2573)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาอย่างยั่งยืนระยะ 10 ปี (ปี 2564-2573) ประกอบไปด้วย 5 ยุทธศาสตร์ ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 บริหารจัดการการเงินอย่างมีความรับผิดชอบ เพอสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนและ
ื่
สมดุลระหว่างธุรกิจของ ธสน. ระบบเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที่ 2 เสริมสร้างระบบการบริหารความเสี่ยง ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ผนวกเข้าเป็นส่วน
หนึ่งของการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร(Enterprise-wide Risk Management)
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ทบทวนและพฒนากรอบการด าเนินงานด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมให้สอดคล้องกับ
ั
มาตรฐานและแนวปฏิบัติที่ดีทั้งในประเทศและต่างประเทศ
ิ่
ื่
ั
ยุทธศาสตร์ที่ 4 พฒนาผู้ประกอบการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพอยกระดับห่วงโซ่คุณค่า และเพม
ศักยภาพการเข้าถึงบริการทางการเงินและแหล่งเงินทุนของ ธสน. อย่างเท่าเทียม
ยุทธศาสตร์ที่ 5 พฒนาระบบการก ากับดูแลเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Governance) การบริหาร
ั
จัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Management) และการจัดการนวัตกรรม เพอเพมประสิทธิภาพการ
ิ่
ื่
ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการและการพฒนาอย่างยั่งยืนของ ธสน. โดยภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 5 มีการ
ั
ระบุแผนงานส าหรับปี 2564 ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ ได้แก่ ข้อ 5.3 แผนพฒนาระบบการบริหาร
ั
จัดการความรู้ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
การวิเคราะห์และสรุปประเด็นความเชื่อมโยงของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาอย่างยั่งยืนระยะ 10 ปี
แนวทางการด าเนินการด้านการจัดการความรู้สามารถสรุปได้ดังนี้
- พฒนาฐานข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมให้เป็นระบบและทบทวนให้ทันสมัยอยู่เสมอ โดย
ั
จัดท าแผนที่ความรู้ (Knowledge Mapping) ที่รวบรวมองค์ความรู้ที่จ าเป็น และแหล่งความรู้ที่เหมาะสม
ส าหรับองค์ความรู้นั้น
- จัดให้มีกระบวนการเรียนรู้ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมร่วมกันอย่างต่อเนื่องสม่ าเสมอ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่สอดคล้องกับบริบทองค์กร และมีกระบวนการพัฒนาการต่อยอด
ปรับใช้ประโยชน์ โดยรวบรวมความรู้ต่างๆ อย่างเป็นระบบ
- ส่งเสริมให้ผู้เชี่ยวชาญ (Subject Matter Expert) ทั้งภายในและภายนอก ให้มีการถ่ายทอด
ความรู้ ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
17