Page 14 - KM Master Plan 2564
P. 14
2.2 ให้เกิดการน าองค์ความรู้ เทคโนโลยี หรือทรัพย์สินทางปัญญาจากภายนอกมาสร้างสรรค์คุณค่า
และนวัตกรรมในองค์กร
• สร้างความรู้ความเข้าใจด้านทรัพย์สินทางปัญญา
• จัดให้มีหน่วยงานที่สนับสนุนในการจัดการด้านทรัพย์สินทางปัญญา
• น าระบบนวัตกรรมแบบเปิด (Open Innovation) มาด าเนินงาน
• วางกรอบการด าเนินงานส าหรับเชื่อมโยงนวัตกรรมจากภายนอกมาประยุกต์ใช้ (Sourcing)
2.3 ให้เกิดนวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์ ด้านบริการ ด้านกระบวนการท างาน หรือรูปแบบธุรกิจ/ภารกิจ
ใหม่ๆ ที่มาจากความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders)
• กระตุ้นส่งเสริมให้เกิดน าเสนอความคิดสร้างสรรค์จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
• ให้รางวัลสนับสนุน หรือผลตอบแทนผู้ที่น าเสนอความคิดสร้างสรรค์
• จัดให้มีระบบรับข้อเสนอแนะ
• น าข้อเสนอมาวิเคราะห์สังเคราะห์เพื่อพัฒนานวัตกรรมตามกระบวนการ
ื่
ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาบุคลากรด้านความคิดสร้างสรรค์เพอให้เกิดการปรับปรุงการท างานและการ
พัฒนานวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน
3.1 ให้บุคลากรภายใน ธสน. มีความรู้ความเข้าใจด้านความคิดสร้างสรรค์ และกระบวนการพฒนา
ั
นวัตกรรม
• ก าหนดให้สมรรถนะทางด้านความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมเป็นส่วนหนึ่งของสมรรถนะ
หลัก (Core Competency) ของบุคลากร ธสน.
• ให้ความรู้ด้านความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรมให้แก่บุคลากรภายใน
• ประเมินผลความรู้ความเข้าใจของบุคลากรด้านความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม
• รวบรวมหลักสูตรด้านความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรมของ ธสน. ไว้ในฐานข้อมูลหรือระบบ
จัดการความรู้ของ ธสน.
3.2 ให้บุคลากรภายในมีส่วนร่วมในการใช้องค์ความรู้ และความคิดสร้างสรรค์เพอน าไปสู่การ
ื่
ปรับปรุงการท างานและสร้างนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ๆ
• เปิดโอกาส/ช่องทางการน าเสนอความคิดสร้างสรรค์หรือนวัตกรรม
• จัดท าระบบ/ฐานข้อมูลการน าเสนอความคิดสร้างสรรค์/ข้อเสนอแนะนวัตกรรม
• จัดให้มีการน าข้อเสนอด้านความคิดสร้างสรรค์/นวัตกรรมมาใช้งานจริง (เช่น ระดับบุคคล/
ระดับกลุ่มย่อย/ระดับฝ่าย/ระดับแผนก/ระดับองค์กร)
ั
• ก าหนดให้การคิดสร้างสรรค์ และพฒนานวัตกรรมเป็นส่วนหนึ่งของการประเมินการ
ปฏิบัติงาน
13