Page 8 - KM Master Plan 2564
P. 8
ั
ิ
ื้
ื้
โครงสร้างพนฐานและการลงทุนในพนที่เขตพฒนาพเศษภาคตะวันออก (EEC) และเขตพฒนาเศรษฐกิจพเศษ
ิ
ั
(SEZs)
ยุทธศาสตร์ที่ 3: ป้องกันความเสี่ยงด้านการค้าและการลงทุนไทยในต่างประเทศ (Risk Protection)
มีวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์เพอสร้างความมั่นใจในการส่งออกและการลงทุนในต่างประเทศให้แก่
ื่
ผู้ประกอบการไทยด้วยบริการประกันการส่งออกและการลงทุน ประกอบด้วย 3 กลยุทธ์ คือ (3.1) พฒนา
ั
ผลิตภัณฑ์ประกันในรูปแบบใหม่ (3.2) เสริมสร้างการรับรู้และความตระหนักในบริการประกันการส่งออกและ
การลงทุน และ (3.3) พัฒนาระบบการอนุมัติวงเงินรับประกัน
ยุทธศาสตร์ที่ 4: เป็นกลไกส าคัญในระบบนิเวศสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของ
ผู้ประกอบการ (Ecosystem)
ื่
มีวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์เพอพฒนาขีดความสามารถของผู้ประกอบการไทยโดยเฉพาะ SMEs ใน
ั
การส่งออกและการลงทุนในต่างประเทศ ด้วยการบ่มเพาะทักษะความรู้/ให้ค าปรึกษา/ขยายเครือข่ายธุรกิจ
ิ่
และการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการเข้าสู่ช่องทางการค้าออนไลน์/ดิจิทัล อันเป็นการเพมศักยภาพการเข้าถึง
บริการทางการเงินอย่างเท่าเทียม ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ คือ (4.1) สนับสนุนผู้ประกอบการดาเนินธุรกิจ
การค้าและการลงทุนในต่างประเทศ ผ่านการสร้างทักษะความรู้ การจับคู่ธุรกิจ (Business Matching) และ
การขยายความร่วมมือระหว่าง SMEs กับผู้ประกอบการชั้นน า (Lead Enterprises) และ (4.2) ส่งเสริมให้
ผู้ประกอบการส่งออกสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์/ดิจิทัล
ยุทธศาสตร์ที่ 5: ก้าวเข้าสู่ธนาคารดิจิทัล (Digitalization)
ื่
มีวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์เพอประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลในกระบวนการทางานและ
การให้บริการลูกค้า บริหารจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากเทคโนโลยี รวมทั้งสนับสนุนการค้าดิจิทัล (Digital Trade)
ิ่
ื่
มากขึ้น ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ คือ (5.1) พัฒนาระบบงานที่ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง เพอเพมประสิทธิภาพการ
ท างาน การให้บริการลูกค้า การเชื่อมโยงข้อมูลกับเครือข่ายพนธมิตร รวมทั้งการด าเนินงานที่เป็นมิตรต่อ
ั
ั
ื่
สิ่งแวดล้อม (5.2) พฒนาช่องทางดิจิทัลในด้านการให้บริการแก่ลูกค้าเพอเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดี (5.3)
ประยุกต์ใช้นวัตกรรมเพอจุดประกายความคิดสร้างสรรค์และสนับสนุนการค้าดิจิทัลด้วยนวัตกรรมใหม่ๆ และ
ื่
(5.4) พัฒนาขีดความสามารถและโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลที่มั่นคงและบริหารความเสี่ยงที่เกิดจากเทคโนโลยี
ยุทธศาสตร์ที่ 6: พัฒนาธนาคารเพื่อความยงยืน (Sustainable Banking)
ั่
ื่
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์เพอบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ สนับสนุนการเติบโตอย่าง
มั่นคงและยั่งยืน และสร้างความสมดุลระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 3 กล
ยุทธ์ คือ (6.1) เสริมสร้างฐานะการเงินที่มั่นคงและบริหารจัดการการเงินอย่างมีความรับผิดชอบด้วยการ
ื่
บริหารคุณภาพสินทรัพย์และความเสี่ยงตามมาตรฐานสากล เพอสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนและสมดุล (6.2)
พัฒนาธนาคารเพื่อความยั่งยืน ด้วยกรอบการด าเนินงานและการก ากับดูแลกิจการที่สอดคล้องกับแนวปฏิบัติที่
ดี (Best Practice) รวมทั้งผลิตภัณฑ์/บริการ กิจกรรม และกระบวนการที่เป็นมิตรต่อชุมชน สังคมและ
7