Page 16 - คู่มือการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน
P. 16
ั
ิ
โครงการวจัยการพัฒนากระบวนการจดการและวิเคราะห์วัตถุพยานทางนิตวิทยาศาสตรในคดีเดกและเยาวชน
ิ
็
์
ขั้นตอนที่ 3 การรักษาความปลอดภัยและการป้องกันสถานที่เกิดเหตุ (Secure and
Protect Scene)
หลักเกณฑ์การกำหนด ขอบเขตรักษาความปลอดภัย แสดงดังภาพต่อไปนี้
ชั้นที่ 1 (ชั้นนอกสุด)
ใช้รักษาความปลอดภัยและป้องกันสถานที่เกิดเหตุจากฝูงชน หรือผู้ไม่เกี่ยวข้อง
จำกัดไม่ให้มีการเข้า – ออก ยกเว้นเจ้าหน้าที่หรือผู้เกี่ยวข้อง
ชั้นที่ 2 : สื่อมวลชน
ชั้นที่ 3 : เขตหวงห้ามและเป็นทตั้งของจุดสั่งการ
ี่
ุ
พื้นที่ควบคมป้องกันและรักษาพิเศษ
สำหรับเจ้าหน้าที่ตำรวจ, ผู้บังคบบัญชา, หน่วยสนับสนุน,
ั
ี่
บริเวณสถานทเกิดเหตุ
เจ้าหน้าที่ผู้ตรวจสถานที่เกิดเหต, เจ้าหน้าที่เก็บ
ุ
พยานหลักฐาน, แพทย์นิติเวชศาสตร์
แผนภาพที่ 3 การกำหนด ขอบเขตรักษาความปลอดภัย
คำอธิบายขั้นตอนการรักษาความปลอดภัยและการป้องกันสถานที่เกิดเหตุ (Secure and
Protect Scene) มีรายละเอียดดังนี้
การปิดกั้นสถานที่เกิดเหตุด้วย แถบกั้นสถานที่เกิดเหตุ (POLICE LINE) เพื่อรักษา
สถานที่เกิดเหตุ ระมัดระวังไม่ให้บุคคลภายนอกที่ไม่เกี่ยวข้องกับคดีเข้าไปในสถานที่
เกิดเหตุ เนื่องจากอาจทำลายหลักฐานหรือวัตถุพยานที่ปรากฏในสถานที่เกิดเหตุได้
โดยไม่ตั้งใจ ซึ่งการรักษาสถานที่เกิดเหตุนั้นจะมีรูปแบบแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับ
สถานที่และเหตุการณ์ กรณีสถานที่เกิดเหตุอยู่ในเคหะสถานจะสามารถบริหารจัดการ
และรักษาสถานที่เกิดเหตุไม่ยากมากนัก เนื่องจากพื้นที่มีลักษณะปิด สามารถควบคุมดูแล
ได้ค่อนข้างง่าย แต่หากกรณีเป็นพื้นที่โล่งแจ้ง เจ้าหน้าที่ตำรวจจะต้องเร่งดำเนินการ
เข้าตรวจสถานที่เกิดเหตุ และรวบรวมพยานหลักฐานโดยเร็วที่สุด เนื่องจากหากเกิดฝนตก
คู่มือการจัดการความรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน 15