Page 11 - คู่มือการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน
P. 11
โครงการวจัยการพัฒนากระบวนการจดการและวิเคราะห์วตถุพยานทางนิตวิทยาศาสตรในคดีเดกและเยาวชน
ั
ิ
ั
์
็
ิ
ส่วนที่ 2
ตรวจสถานที่เกิดเหตุในคดีเด็กและเยาวชน
กระบวนการจัดการและการบริหารการตรวจสถานที่เกิดเหตุในคดีเด็กและเยาวชน
มีวิธีปฏิบัติตามลำดับขั้นตอนที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ซึ่งเจ้าพนักงานหรือเจ้าหน้าที่ตำรวจ
ทุกคนต้องถือปฏิบัติตามทั้งทางด้านกฎหมายและระเบียบปฏิบัติ โดยขั้นตอนพื้นฐาน
การตรวจสถานที่เกิดเหตุเป็นกระบวนการทำงานตามหลักปฏิบัติเป็นที่ยอมรับตามระบบ
FBI (Federal Bureau of Investigation) ประกอบไปด้วย 12 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมความพร้อม
ี่
ขั้นตอนที่ 2 การเข้าถงสถานทเกิดเหตุ
ึ
ขั้นตอนที่ 3 การป้องกันสถานที่เกิดเหตุ ขั้นตอนที่ 8 การวาดแผนที่
ี่
ขั้นตอนที่ 4 การตรวจสถานทเกิดเหตุเบื้องต้น ขั้นตอนที่ 9 การตรวจ
สถานที่เกิดเหตุอย่างละเอียด
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินพยานหลักฐาน
ขั้นตอนที่ 10 การบันทึกและ
ตรวจเก็บพยานหลักฐาน
ขั้นตอนที่ 6 การสรุปสภาพ
ของสถานที่เกิดเหตุ ขั้นตอนที่ 11 การตรวจสอบขั้นสุดท้าย
ขั้นตอนที่ 7 การถ่ายภาพสถานที่เกิดเหตุ ขั้นตอนที่ 12 การออกและส่งคืนสถานที่เกิดเหตุ
10 คู่มือการจัดการความรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน