Page 42 - แฟ้มประเมินด้านที่ 1 ตัวชี้วัด 1.2.2
P. 42

5.  สาระการเรียนรู้สู่การบูรณาการ

                         การเรียนรู้สู่  ASEAN
                         หลักเศรษฐกิจพอเพียง

                         กลุ่มสาระการเรียนรู้....................................

                         อื่นๆ (ระบุ)…………………………...………


               6. ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้

                           เพลงบังคับ  ได้แก่  โหมโรงกลองยาว และการใช้และบ ารุงรักษาเครื่องดนตรีของตนเอง


               7. กิจกึรรมการเรียนรู้

                        กระบวนการจัดการเรียนรู้  ( มี 3 กิจกรรมย่อย : รวมทั้งสิ้น 10 ชั่วโมง )
             กิจกรรมที่ 1  : แนะน าตัวครูผู้สอน และแนะน ารายวิชา                                                         รวม 2  ชั่วโมง

             1.  กล่าวทักทายนักเรียน พูดคุยท าความรู้จัก สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูผู้สอนและนักเรียน

             2.    แนะน าเนื้อหาสาระวิชา / จุดประสงค์การเรียนรู้ / ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง / คะแนนเก็บในแต่ละจุดประสงค์
             เพื่อการเตรียมตัวก่อนเรียน รู้จักที่จะการวางแผนบริหารจัดการกับเวลาการเรียนและการฝึกซ้อม

              3.    แนะน าสื่ออุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการเรียนในวิชา ดนตรีไทยภาคปฏิบัติ ประกอบไปด้วย

                       เครื่องดนตรี “กลองยาว”

                       แผ่นฟิวเจอร์บอร์ดแสดงโน้ตแม่มือ โหมโรงกลองยาว

             4. แนะน าข้อควรปฏิบัติในการใช้งาน ข้อห้ามที่ควรหลีกเลี่ยง วิธีการการดูแลรักษา เทคนิคต่าง ๆ โดยจะสาธิต
             ประกอบการบรรยายไปด้วย

             กิจกรรมที่ 2 : ศึกษา “ กลองยาว ” ในภาคทฤษฎีและการปฏิบัติจริง                                      รวม 6  ชั่วโมง

             1.   ครูผู้สอนน ากลองยาวมาให้นักเรียนดู จากนั้น อธิบายลักษณะ ส่วนประกอบต่าง ๆ ของกลองยาว อธิบายลักษณะ
             การบรรเลงที่ถูกต้อง เช่น บุคลิก ท่าทางในการตี การสะพายกลอง  การตีที่ถูกต้อง ตีอย่างไรจึงจะให้ได้เสียงออกมาดี

                                                                                                             ่
             2.   ครูผู้สอนน าแผ่นฟิวเจอร์บอร์ดแสดงถึงโน้ตแม่มือ ในกรณีศึกษานี้จะใช้แม่มือโหมโรงกลองยาว แล้วครูผู้สอนจะอาน

             โน้ตแม่มือโหมโรงกลองยาว ให้นักเรียนฟัง เพื่อที่ให้นักเรียนได้เข้าใจถึงจังหวะและทานอง ว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร
             3.   ให้นักเรียนอ่านโน้ตแม่มือโหมโรงกลองยาว พร้อมปรบมือประกอบจังหวะไปด้วย

             4.   ให้นักเรียนฝึกตีกลองยาว โดยเบื้องต้นนั้น จะให้ตีในขั้นพื้นฐานโดยการตีแบบเสียง “เพิ่ง บ่อม ป๊ะ”

             5. ครูผู้สอนต่อแม่มือโหมโรงกลองยาวให้นักเรียน โดยจะต่อทีละแม่มือสั้น ๆ จนจบทั้งเพลง และให้นักเรียนฝึกซ้อม
             กิจกรรมที่ 3 :  ฝึกซ้อมพร้อมสอบประเมินผล                                                                  รวม 2  ชั่วโมง

             1. ให้นักเรียนฝึกซ้อมกันเป็นกลุ่ม โดยให้นักเรียนตีกลองยาวในแม่มอโหมโรงกลองยาว
                                                                    ื
             2. เมื่อนักเรียนได้ฝึกซ้อมเรียบร้อยแล้ว จึงให้สอบปฏิบัติทีละ 10 คน
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47