Page 3 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 3
2
และประวัติศาสตร์ท้องถิ่น รวมทั้งคณะครูผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ท้องถิ่นจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ร้อยเอ็ด เขต ๑-๓ และครูจากโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด
หน่วยการเรียนรู้ต้นแบบดังกล่าว เป็นหน่วยการเรียนรู้บูรณาการตัวชี้วัดจากมาตรฐานการเรียนรู้ใน
สาระประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยเลือกมาเฉพาะตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับ
ึ
เนื้อหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน ๔ หน่วยการเรียนรู้ แบ่งเป็นระดับชั้นประมศกษาปีที่ ๑-
๓ หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เล่นของสูง (บุญบั้งไฟ) , ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ชุมชน
ึ
ใคร ชุมชนฉัน , ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ทุ่งกุลาศึกษา และระดับชั้นมัธยมศกษาปี
ที่ ๔-๖ หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เฮียนฮู้ ฮอย ฮีต แต่ละหน่วยการเรียนรู้ใช้เวลา ๑๐ ชั่วโมง โดยใช้หลักการฐาน
คิดว่า สาระประวัติศาสตร์ ๔๐ ชั่วโมง แบ่งมาเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจำนวน ๑๐ ชั่วโมง หรือ ๑ ใน ๔
ของประวัติศาสตร์ไทยและประวัติศาสตร์โลก
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนประวัติศาสตร์ในการปรับประยุกต์
หน่วยการเรียนรู้นี้ไปใช้จัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นตามบริบทของชุมชน เพอผู้ให้ผู้เรียนได้ค้นหาอัต
ื่
ิ่
ลักษณ์ของชุมชน พัฒนาอัตลักษณ์สู่นวัตกรรม นำสู่การแก้ปัญหาชุมชนและเพมมูลค่าของสินค้าและบริการใน
อนาคต
กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอ็ด
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
บทที่ ๑ บทนำ ๑
บทที่ ๒ เอกสาร วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ๔
บทที่ ๓ วิธีการดำเนินงาน
บทที่ ๔ ผลการดำเนินงาน
หน่วยการเรียนรู้ต้นแบบการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด ๑๘