Page 83 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 83
60
๘.๒ ซุมแซง ซาดเซื่อ (เวลา ๓ ชั่วโมง)
ั
- นักเรียนศึกษา ชุมชนชาติพนธุ์และประวัติการอพยพเข้าสู่จังหวัดร้อยเอ็ด
- นักเรียนศึกษา ชุมชนชาติพนธุ์และการนำเข้าภูมิปัญญาด้านอาหารการกิน และการทอผ้า
ั
ในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด
- นักเรียนจัดเทศกาลอาหารและแฟชั่นชุมชนชาติพันธุ์ในจังหวัดร้อยเอ็ด
๘.๓ ผี พราหมณ์ พุทธ (เวลา ๒ ชั่วโมง)
- นักเรียนศึกษาโบราณสถานที่สะทอนความเชื่อของผี พราหมณ์ พุทธ ในจังหวัดร้อยเอ็ด
้
(ศาลหลักเมือง ศาลปู่ตา ศาลปึงเถ่ากงม่า, ปรางคกู่ ปราสาทขอมโบราณ , โบสถ์ สิม ฮูปแต้ม)
์
- นักเรียนนำเสนอโบราณสถานและโบราณวัตถุที่น่าสนใจ พร้อมอธิบายความเชื่อผี
พราหมณ์ พุทธ และยุคสมัย แหล่งที่มาของความเชื่อ ที่สัมพันธ์กับการอพยพและเปลี่ยนแปลงของรัฐโบราณ
่
๘.๔ โฮมบุญ ฮวมทาน (เวลา ๒ ชั่วโมง)
- นักเรียนศึกษาประเพณีบุญผะเหวด แหล่งที่มา และลักษณะกิจกรรมตั้งแต่อดีต ถึงปัจจุบัน
- นักเรียนนำเสนอแนวทางการมีส่วนร่วมสืบสานต่อยอดประเพณีบุญผะเหวด พร้อมทั้ง
อธิบายแนวคิดในการมีส่วนร่วมที่สมัพันธ์สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในปัจจุบัน
๙. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๙.๑ พงศาวดารอีสาน โดย พระยาขัติยะวงษา (เหลา)
๙.๒ พงศาวดารอีสาน โดย เติม พจนวิพากษ์กิจ
๙.๓ ร้อยเอ็ดมาจากไหน โดย สุจิตต์ วงษ์เทศ
๙.๔ ตำนานอุรังคธาตุ ฉบับปริวรรตเป็นอักษรไทย โดย ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ
๙.๕ กระบวนการสร้างบทละครเวทีไทยสมัยใหม่
๙.๖ ประเพณบุญผะเหวด จากหนังสือ วัฒนธรรม พัฒนาการทางภูมิปัญญา และเอกลักษณ์ จังหวัด
ร้อยเอ็ด (กรมศิลปากร)
๙.๗ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติจังหวัดร้อยเอ็ด
๙.๘ ชุมชนชาติพันธุ์ในจังหวัดร้อยเอ็ด เช่น เชียงขวัญ , บ้านท่าม่วง อ.เสลภูมิ , ชาวผู้ไท อ.โพธิ์ชัย ,
ชาวทุ่งกลา บ้านตาหยวก อ.สุวรรณภูมิ เป็นต้น