Page 82 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 82
59
๔.๑ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๔.๒ ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑
๔.๒.๕ Cross-cultural Understanding ความเข้า
ใจความต่างวัฒนธรรม
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ใฝ่เรียนรู้
๕.๒ รักความเป็นไทยภูมิใจในท้องถิ่น
๕.๓ มุ่งมั่นในการทำงาน
๕.๔ มีจิตสาธารณะ
๖. ภาระงาน/ชิ้นงาน
๖.๑ แผนผัง ลำดับช่วงเวลาการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ สู่เมืองร้อยเอ็ด เมื่อเปรียบเทียบ
กับเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ของโลก
๖.๒ ผลงานการประกอบอาหารตามกลุ่มชาติพันธุ์
๖.๓ ผลงานการนำเสนอแนวทางการมีส่วนร่วมในประเพณีบุญผะเหวดอย่างสร้างสรรค์
๗. การวัดและประเมินผล
ิ
ประเด็นในการวัดและประเมินผล เครื่องมือในการวัดและประเมนผล
แผนผัง ลำดับช่วงเวลาการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ แบบประเมินชิ้นงาน
ทุ่งกุลาร้องไห้ สู่เมืองร้อยเอ็ด เมื่อเปรียบเทียบ
กับเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ของโลก
ผลงานการประกอบอาหารตามกลุ่มชาติพันธุ์ แบบประเมินชิ้นงาน
ผลงานการนำเสนอแนวทางการมีส่วนร่วมใน แบบประเมินชิ้นงาน
ประเพณีบุญผะเหวดอย่างสร้างสรรค์
การทำงานเป็นทีม แบบสังเกต
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
๘.๑ เวียงจันทร์ จำปาศักดิ์ ศรีภูมิ กุ่มฮ้าง (เวลา ๓ ชั่วโมง)
- นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาเอกสาร ๑ “จากเวียงจันทร์ สู่จำปาศักดิ์” และเอกสาร ๒ “จากทุ่ง
ศรีภูมิสู่บ้านกุ่มฮ้าง”
- นักเรียนศึกษาการทำโครงเรื่องสู่บทละคร
- แต่ละกลุ่มแสดงบทบาทสมมติ ภายใต้โครงเรื่อง “จากเวียงจันทร์ สู่จำปาศักดิ์” และ “จาก
ทุ่งศรีภูมิสู่บ้านกุ่มฮ้าง”