Page 77 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 77

54


               เดียวกันหรือไม่อย่างไร, คนทุ่งกุลากับปราสาทขอมหายไปไหน ? , ใครมาแทนที่ชาวทุ่ง ? , ทุ่งกุลากับรากเหง้า

               ชาวร้อยเอ็ด)

                              - กำหนดประเด็นปัญหา

                              - รวบรวมข้อมูล หลักฐาน


                              - ประเมินความน่าเชื่อถือข้อมูล หลักฐาน

                              - สรุป


                              - นำเสนอผ่านเพจเฟสบุ๊ก

                       ๙.๔ การออกแบบนวัตกรรมแก้ปัญหาชุมชนคนทุ่งกุลา (2 ชั่วโมง)


                              - นักเรียนแบ่งกลุ่มช่วยกันออกแบบนวัตกรรม “จำหน่ายข้าวหอมมะลิอย่างไร ให้แข่งขันได้
               ในตลาดโลก”


                              - นักเรียนใช้กระบวนการ Design Thinking

                              - Empathy (เข้าใจประวัติความเป็นมาของชาวทุ่งกุลา กัมพูชา ลาว จีนตอนใต้และ
               เวียดนามโดยสังเขป) Define (กำหนดประเด็นปัญหาของการจำหน่ายข้ามหอมมะลิให้ชัดเจน) Ideate (ระดม

               สมองหาแนวทางแก้ปัญหา) Prototype (จัดทำร่างแนวทางแก้ปัญหา/ ร่างนวัตกรรม) Test (นำไปทดลองใช้
               โดยนำเสนอผ่านเพจเฟสบุ๊ก)


               ๙. สื่อ/แหล่งเรียนรู้

                       ๙.๑ โบราณสถานในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ (กรมศิลปากร)

                       ๙.๒ แหล่งโบราณคดีบ้านเมืองบัว (กรมศิลปากร)
                       ๙.๓ แหล่งโบราณคดีดอนขุมเงิน (กรมศิลปากร)
                       ๙.๔ ภาพเขียนผนังถ้ำในกวางสี ตอนใต้ของจีนและดงเซินทางเหนือของเวียดนาม

                       ๙.๕ การสำรวจทุ่งกุลาร้องไห้ (กรมพัฒนาที่ดิน)
                       ๙.๖ โฆษณาแนะนำสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดร้อยเอ็ด

                       ๙.๗ การคิดเชิงออกแบบ (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาผลิตภาพ)
                       ๙.๘ พม่า ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ลาว เวียดนาม ตอนใต้ของจีน และกัมพูชา ที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์

               ทุ่งกุลาโดยสังเขป (สุจิตต์  วงษ์เทศ)
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82