Page 74 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 74
51
ส่งออกข้าวสู่ตลาดโลก เปรียบเทียบ
กับการส่งออกน้ำมันของกลุ่ม
ประเทศมลายู
ม. ๑/๒ ระบุความสำคัญของแหล่ง ที่ตั้งและความสำคัญของแหล่ง แหล่งอารยธรรมโบราณในพม่า
อารยธรรมในภูมิภาคเอเชีย อารยธรรมในภูมิภาคเอเชีย ลาว จีนตอนใต้ เวียดนาม และ
ตะวันออกเฉียงใต้ ตะวันออกเฉียงใต้ เช่น แหล่งมรดก กัมพูชา ที่อพยพเคลื่อนย้ายสู่ทุ่งกุลา
โลกในประเทศต่าง ๆของเอเชีย ร้องไห้ ที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง และพื้นที่
ตะวันออกเฉียงใต้ จังหวัดร้อยเอ็ด
อิทธิพลของอารยธรรมโบราณ อิทธิพลของอารยธรรมโบราณ
ในดินแดนไทยที่มีต่อพัฒนาการของ ในทุ่งกุลาร้องไห้ ที่มีต่อพัฒนาการ
สังคมไทยในปัจจุบัน ของสังคมไทยปัจจุบัน
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ
และธำรงความเป็นไทย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
ม.๑/๑ อธิบายเรื่องราวทาง สมัยก่อนประวัติศาสตร์ใน ภาชนะดินเผาสมัยก่อน
ประวัติศาสตร์สมัยก่อนสุโขทัยใน ดินแดนไทย โดยสังเขป ประวัติศาสตร์ในทุ่งกุลาร้องไห ้
ดินแดนไทยโดยสังเขป รัฐโบราณในดินแดนไทย เช่น รัฐโบราณในดินแดนทุ่งกุลา
ศรีวิชัยตามพรลิงค์ ทวารวดี เป็น ร้องไห้ เช่น อาณาจักรเจนละ
ต้น ปราสาทขอม เป็นต้น
๓. สาระสำคัญ
การใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ศึกษาประเด็นทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่นทุ่งกุลาร้องไห้ ผ่านการ
กระบวนการสืบเสาะทางประวัติศาสตร์และเชื่อมโยงกับการออกแบบผลิตภัณฑ์เพอแก้ปัญหาของชุมชนใน
ื่
ท้องถิ่น ซึ่งวิเคราะห์มวลประสบการณ์ของผู้เรียนโดยแบ่งเป็นองคความรู้ (Knowledge : K) กระบวนการ
์
(Processes : P) และเจตคติ (Attitude) ดังนี้
๓.๑ องค์ความรู้ (Knowledge : K) ได้แก่
๓.๑.๑ ขั้นตอนการสืบเสาะทางประวัติศาสตร์
๓.๑.๒ ข้อมูลพื้นฐานพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ด้านสังคม การเมือง เศรษฐกิจ ภูมิศาสตร์ ใน
สมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา พม่า
ลาว จีนตอนใต้ เวียดนาม และกัมพูชาโดยสังเขป
๓.๑.๓ การออกแบบนวัตกรรมเพอแก้ปัญหาชุมชน
ื่
๓.๒ กระบวนการ (Processes : P)
๓.๒.๑ ลงมือสืบเสาะทางประวัติศาสตร์ตามประเด็นความสนใจ