Page 72 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 72

49


                              ๙.๑.๑ แบ่งกลุ่มนักเรียนคละตามความสามารถและความถนัด ศึกษาประวัติความเป็นมาของ

               ชุมชน ตามประเด็นที่สนใจดังนี้
                                     (๑) ที่มาของชื่อชุมชน
                                     (๒) สิ่งปลูกสร้างที่เก่าแก่ที่สุดในชุมชน

                                                                          ่
                                                                       ่
                                     (๓) ข้าวของ เครื่องใช้ เครื่องประดับ ที่เกาแกที่สุดในชุมชน
                                     (๔) เรื่องเล่าเกี่ยวกับผู้คน (การย้ายถิ่นฐาน การประกอบอาชีพ วีรกรรมการต่อสู้) ที่
               เก่าแก่ที่สุด
                                     (๕) ประเด็นอื่น ๆ ที่นักเรียนนำเสนอ

                                                                    ้
                              ๙.๑.๒ นักเรียนแต่ละกลุ่มใช้วิธีศึกษารวบรวมขอมูล หลักฐาน ดังนี้
                                     (๑) สัมภาษณ์ปราชญ์ชุมชน หรือบุคคลที่สามารถให้ข้อมูลได้

                                     (๒) ลงพื้นที่สำรวจชุมชน
                                     (๓) ศึกษาเอกสารเปรียบเทียบจากแหล่งต่าง ๆ มากกว่า ๒ แหล่ง
                              ๙.๑.๓ ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล หลักฐานที่เก็บรวบรวมได้ และตีความโดยแยกแยะ

               ความจริงและข้อเท็จจริงโดยพิจารณาว่า ข้อมูลที่ได้ เป็นข้อคิดเห็น ข้อเท็จจริง หรือความจริง
                                                                                      ึ
                              ๙.๑.๔ สรุป ประวัติและความเป็นมาตามประเด็นที่แต่ละกลุ่มเลือกศกษา
                              ๙.๑.๕ นำเสนอประวัติและความเป็นมาของชุมชนโดยใช้เทคนิคที่น่าสนใจ
                       ๙.๒ กิจกรรมที่ ๒ แสวงหาภูมิปัญญา
                              ๙.๒.๑ แบ่งกลุ่มนักเรียนคละตามความสามารถและความถนัด สำรวจภูมิปัญญาในจาก

               ปราชญ์ชุมชน
                              ๙.๒.๒ นักเรียนวิเคราะห์ผลผลิตทางภูมิปัญญาดังนี้

                                     (๑) ทรัพยากรที่ใช้ในการผลิตคืออะไร เกี่ยวข้องกับประวัติความเป็นมาหรือลักษณะ
               เด่นในชุมชนอย่างไร

                                     (๒) ผลผลิตทางภูมิปัญญาดังกล่าวมีสถานะความสำคัญอย่างไรในอดีต ปัจจุบัน และ
               คาดการณ์ในอนาคต

                       ๙.๓ กิจกรรมที่ ๓ ความรู้คุณปู่หนูต่อยอด
                              ๙.๓.๑ นักเรียนใช้กระบวนการ Design Thinking หรือซินเนคติกเมตตอธ (ตามความพร้อม
                       ของผู้เรียน) ออกแบบผลผลิตดังกล่าวใหม่อีกครั้ง

                       ๙.๔ กิจกรรมที่ ๔ การนำเสนอ
                              นักเรียนนำเสนอผลผลิตทางภูมิปัญญา (ฉบับ Remake) โดยใช้กระบวนการ Story Telling

               เชื่อมโยงผลผลิตทางภูมิปัญญากับประวัติความเป็นมาของชุมชน
               ๑๐. สื่อ/แหล่งเรียนรู้


                       ๑๐.๑ การศึกษาชื่อบ้านนามเมือง
                       ๑๐.๒ การประเมินหลักฐานทางประวัติศาสตร์ โดยใช้การแยกแยะความจริงและข้อเท็จจริง

                                               ็
                       ๑๐.๓ ที่มาของชื่อเมืองร้อยเอดและอำเภอต่าง ๆ ในจังหวัดร้อยเอ็ด
                       ๑๐.๔ แหล่งโบราณสถานในจังหวัดร้อยเอ็ด
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77