Page 73 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 73
50
๑๐.๕ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติจังหวัดร้อยเอ็ด
๑๐.๖ การคิดเชิงออกแบบ (เอกสารของสำนักงานพัฒนาผลิตภาพแห่งชาติ)
๑๐.๗ หนังสือวัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ และเอกลักษณ์จังหวัดร้อยเอ็ด
หน่วยการเรียนรู้ตัวอย่าง : การจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด ที่สอดคล้องกับสาระ
ประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
๑. ชื่อหน่วย : ทุ่งกุลาศึกษา เวลา : ๑๐ ชั่วโมง
๒. มาตรฐานการเรียนรู้ :
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้
วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
ม.๑/๓ นำวิธีการทางประวัติศาสตร์ นำวิธีการทางประวัติศาสตร์ไปใช้ ทุ่งกุลาร้องไห้ในสมัยก่อน
มาใช้ศึกษาเหตุการณ์ทาง ศึกษาเรื่องราวของประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ ไทยที่มีอยู่ในท้องถิ่นตนเองในสมัย
ใดก็ได้ (สมัยก่อนประวัติศาสตร์
สมัยก่อนสุโขทัย สมัยสุโขทัย สมัย
อยุธยา สมัยธนบุรี สมัย
รัตนโกสินทร์ ) และเหตุการณ์สำคัญ
ในสมัยสุโขทัย
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
ิ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกดขึ้น
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
ม.๑/๑ 1. อธิบายพัฒนาการทาง ที่ตั้งและสภาพทางภูมิศาสตร์ ที่ตั้งของพม่า ลาว จีนตอนใต้
สังคม เศรษฐกิจและการเมืองของ ของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย เวียดนามและกัมพูชา ที่ส่งผลต่อ
ประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ที่มีผลต่อ พัฒนาการด้านประวัติศาสตร์ในทุ่ง
ตะวันออกเฉียงใต้ พัฒนาการทางด้านต่าง ๆ กุลาร้องไห้, ที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง และ
พื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด
พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ
และการเมืองของประเทศต่าง ๆ ใน และการเมืองของพม่า ลาว จีนตอน
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใต้ เวียดนามและกัมพูชาในด้านการ