Page 75 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 75
52
ื้
๓.๒.๒ ออกแบบนวัตกรรมการแก้ปัญหาชุมชน โดยอยู่บนพนฐานความรู้ ความเข้าใจ
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นทุ่งกุลาร้องไห้
๓.๒.๓ ใช้กระบวนการกลุ่ม ค้นคว้าข้อมูลด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ภูมิศาสตร์ของทุ่ง
กุลาร้องไห้ และดินแดนใกล้เคียง อาทิ ลุ่มน้ำเจ้าพระยา พม่า จีนตอนใต้ เวียดนาม และกัมพูชา ทั้งสมัยก่อน
ประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ โดยสังเขป
๓.๓ เจตคติ (Attitude)
๓.๓.๑ มีความภาคภูมิใจในทรัพยากรและอารยธรรมของทุ่งกุลาร้องไห้
๓.๓.๒ มีแรงบันดาลใจในการเป็นผู้ประกอบการที่ใส่ใจชุมชนและสังคมในอนาคต
๔. สมรรถนะสำคัญ
๔.๑ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๔.๒ ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑
๔.๑.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๔.๒.๑ Critical thinking การคิดเชิงวิพากษ์
๔.๑.๒ ความสามารถในการคิด ๔.๒.๒ Creativity การคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
๔.๑.๓ ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔.๒.๓ Collaboration การทำงานเป็นทีม
๔.๑.๕ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔.๒.๔ Communication การสื่อสาร
๔.๒.๕ Cross-cultural Understanding ความเข้า
ใจความต่างวัฒนธรรม
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ใฝ่เรียนรู้
๕.๒ รักความเป็นไทยภูมิใจในท้องถิ่น
๕.๓ มุ่งมั่นในการทำงาน
๕.๔ มีจิตสาธารณะ
๖. ภาระงาน/ชิ้นงาน
๖.๑ เพจเฟสบุ๊ก นำเสนอข้อมูลจากการสืบค้นและออกแบบ
๖.๒ ผลงานการจัดทำข้อเสนอ “การแก้ปัญหาการจำหน่ายข้าวหอมมะลิ”
๗. การวัดและประเมินผล
ประเด็นในการวัดและประเมินผล เครื่องมือในการวัดและประเมนผล
ิ
เพจเฟสบุ๊กในการนำเสนอผล แบบประเมินชิ้นงาน
การศึกษาค้นคว้า