Page 69 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 69
46
- นักเรียนออกแบบบุญบั้งไฟที่สอดคล้องกับอาชีพ สภาพภูมิศาสตร์และสังคมในปัจจุบัน และ
วัตถุประสงค์ของการจัดประเพณีบุญบั้งไฟในปัจจุบัน ที่มนุษย์มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์ชัดเจนแล้วว่า ปัจจัยที่
ทำให้ฝนตกไม่ใช่การจุดบั้งไฟ ดังนั้นบุญบั้งไฟในปัจจุบันควรจัดต่อหรือไม่ ถ้าจัดต่อควรจัดอย่างไร
- นักเรียนวาดภาพระบายสี ประเพณีบุญบั้งไฟที่อยากเห็นในอนาคต
๑๐. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
่
๑๐.๑ เอกสารการทำทากบ โดยสุจิตต์ วงษ์เทศ
- https://www.matichonweekly.com/column/article_657076 (คนทำท่ากบ)
- https://www.matichon.co.th/news-monitor/news_2161837 (กลองมะโหระทึก มีกบอยู่บน
หน้ากลอง ที่คำชะอี จ.มุกดาหาร)
- https://www.matichonweekly.com/column/article_274875 (คนทำท่าเหมือนกบที่กวางสี
ประเทศจีน)
๑๐.๒ นิทานเรื่อง พญาคันคาก (สำนวนที่เกี่ยวกับบุญบั้งไฟ) และนิทาน เรื่อง ผาแดงนางไอ่ (สำนวน
ที่มีประเพณบุญบั้งไฟ)
๑๐.๓ https://cac.kku.ac.th/cac2021/information (ประเพณีบุญบั้งไฟในอดีต จากศูนย์
ศิลปวัฒนธรรม มข.) และเนื้อจากเวบของเทศบาลนนทบุรี
http://www.bangsrimuang.go.th/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8
%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89-
%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1/144
๑๐.๔ MV เพลงนางไอ่ของอ้าย
๑๐.๕ วิดิทัศน์ ประเพณีบวดควายจ่า อ.เชียงขวัญ
๑๐.๖ วิดิทัศน์การประดิษฐ์หมวกกาบเซิ้ง
หน่วยการเรียนรู้ตัวอย่าง : การจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด ที่สอดคล้องกับสาระ
ประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
๑. ชื่อหน่วย : ชุมชนใคร ชุมชนฉัน เวลา : ๑๐ ชั่วโมง
๒. มาตรฐานการเรียนรู้ : มาตรฐานที่ ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้าน
ความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถ
วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
๓. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้