Page 65 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 65

42


                                     ๗.๒.๓ มัคคุเทศก์น้อยที่เคยไปเป็นผู้ช่วยนำเสนอเฉพาะจุดที่ตนถนัด ในครั้งต่อไปที่มี
               นักท่องเที่ยวเข้าชม ให้เปลี่ยนจุดที่นำเสนอเวียนไปอย่างน้อย ๓ จุด จึงสามารถออกปฏิบัติงานเป็นมัคคุเทศก ์

               น้อยได้
               ๘. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
                       ๑๐.๑ เวบไซต์ของกรมศิลปากร https://www.finearts.go.th/promotion/view/19823
                       ๑๐.๒ เวบไซต์ของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร

               https://db.sac.or.th/archaeology/archaeology/392
                       ๑๐.๓ เวบไซต์ขององค์กรพัฒนาชุมชน https://ref.codi.or.th/pub.../news/15147-2016-11-14-
               11-00-10
                       ๑๐.๔ หนังสือวัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ และเอกลักษณ์จังหวัดร้อยเอ็ด

                       ๑๐.๕ ปราชญ์ชุมชนผู้ทรงคุณวุฒิ (ดร.อำคา  แสงงาม)
                       ๑๐.๖ คลิปการนำเสนอสถานที่ท่องเที่ยวจากสื่อโซเชียลมีเดีย
                       ๑๐.๗ คลิปการสอนบุคลิกภาพและการนำเสนอจากสื่อโซเชียลมีเดีย (อาทิ ครูเงาะ)









                       ๔.๔.๒ ผลการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ต้นแบบการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด
                       หน่วยการเรียนรู้ต้นแบบการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด ที่คณะทำงานจัดทำ

               ขั้นในครั้งนี้ เป็นหน่วยการเรียนรู้บูรณาการตัวชี้วัดจากมาตรฐานการเรียนรู้ในสาระประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระ

               สังคมศกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวน ๔ หน่วยการเรียนรู้ ดังนี้
                     ึ
                       ๓.๑ ระดับชั้นประมศึกษาปีที่ ๑-๓ หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เล่นของสูง (บุญบั้งไฟ) ,
                       ๓.๒ ระดับชั้นประถมศกษาปีที่ ๔-๖ หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ชุมชนใคร ชุมชนฉัน ,
                                         ึ
                       ๓.๓ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ทุ่งกุลาศึกษา
                       ๓.๔ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เฮียนฮู้ ฮอย ฮีต

                       แต่ละหน่วยการเรียนรู้ใช้เวลา ๑๐ ชั่วโมง โดยใช้หลักการฐานคิดว่า สาระประวัติศาสตร์ ๔๐ ชั่วโมง
               แบ่งมาเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจำนวน ๑๐ ชั่วโมง หรือ ๑ ใน ๔ ของประวัติศาสตร์ไทยและประวัติศาสตร์

               โลก ซึ่งนำเสนอรายละเอียดในหน้าต่อไปตามลำดับ
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70