Page 63 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 63

40


                 ๓.๑ หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ๓.๒ ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑              ๓.๓ คุณลักษณะอันพึง
                 ขั้นพื้นฐาน                                                      ประสงค์

                                               ๓.๒.๕ Cross-cultural
                                               Understanding ความเข้าใจความ
                                               ต่างวัฒนธรรม

               ๔. ภาระงาน/ชิ้นงาน

                       ๔.๑ รายงานประวัติความเป็นมาของกกาสิงห์ กู่โพนวิจ และกู่โพนระฆัง
                                                      ู่
                       ๔.๒ การพูดนำเสนอโบราณสถานกู่กาสิงห์ กู่โพนวิจ และกู่โพนระฆัง
                       ๔.๓ คู่มือมัคคุเทศก์น้อยนำเที่ยวกู่กาสิงห์
                       ๔.๔ การมีส่วนร่วมในชมรมมัคคุเทศก์น้อย โรงเรียนบ้านกู่กาสิงห์


               ๕. การวัดและประเมินผล
                 ประเด็นในการวัดและประเมินผล                            เครื่องมือในการวัดและประเมินผล

                 ๕.๑ รายงานประวัติความเป็นมาของกกาสิงห์ กู่โพนวิจ และกู่  แบบประเมินชิ้นงาน
                                                ู่
                 โพนระฆัง
                 ๕.๒ การพูดนำเสนอโบราณสถานกู่กาสิงห์ กู่โพนวิจ และกู่โพน  แบบประเมินการทำงานกลุ่ม
                 ระฆัง

                 ๕.๓ คู่มือมัคคุเทศก์น้อยนำเที่ยวกู่กาสิงห์             แบบประเมินชิ้นงาน
                 ๕.๔ การมีส่วนร่วมในชมรมมัคคุเทศก์น้อย โรงเรียนบ้านกู่กาสิงห์  แบบประเมินการทำงานกลุ่ม
                 ๕.๕ คลิปการนำเสนอกูกาสิงห์เชิงสร้างสรรค์               แบบประเมินชิ้นงาน


               ๖. สาระสำคัญ
                                                                           ุ
                       การพัฒนาสมรรถนะการสื่อสารสู่การมีงานทำ ผ่านกิจกรรมมัคคเทศก์น้อยนำเที่ยวกู่กาสิงห์ เป็น
                                                                   ู่
               การศึกษาค้นคว้าประวัติและความเป็นมาตลอดจนคุณค่าของกกาสิงห์เพื่อนำเสนอต่อนักท่องเที่ยว ซึ่ง
               วิเคราะห์มวลประสบการณ์ของผู้เรียนโดยแบ่งเป็นองค์ความรู้ (Knowledge : K) กระบวนการ (Processes :

               P) และเจตคติ (Attitude) ดังนี้
                       ๖.๑ องค์ความรู้ (Knowledge : K) ได้แก่
                              ๖.๑.๑ ความเป็นมาของการสร้างกู่กาสิงห์
                              ๖.๑.๒ อาคาร สิ่งปลูกสร้างและวัตถุโบราณในโบราณสถานกู่กาสิงห์

                              ๖.๑.๓ ประเพณีและความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับกกาสิงห์
                                                                   ู่
                              ๖.๑.๔ การพูดนำเสนอกู่กาสิงห์ต่อนักท่องเที่ยว
                       ๖.๒ กระบวนการ (Processes : P)

                              ๖.๒.๑ อ่าน ฟังและดูข้อมูลความรู้กู่กาสิงห์ในเชิงการท่องเที่ยว
                              ๖.๒.๒ ฝึกนำเสนอและแนะนำโบราณสถานกู่กาสิงห์ในห้องเรียนและในสถานที่จริง
                              ๖.๒.๓ มีส่วนร่วมในกิจการของชมรมมัคคุเทศก์น้อยกู่กาสิงห์
                       ๖.๓ เจตคติ (Attitude)
                              ๖.๓.๑ มีความภาคภูมิใจในทรัพยากรและอารยธรรมของชุมชนบ้านกู่กาสิงห์และทุ่งกุลาร้องไห้
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68