Page 58 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 58

35


                 ม. ๑/๒ ระบุความสำคัญของแหล่ง     ที่ตั้งและความสำคัญของแหล่ง   แหล่งอารยธรรมโบราณในพม่า
                 อารยธรรมในภูมิภาคเอเชีย       อารยธรรมในภูมิภาคเอเชีย       ลาว จีนตอนใต้ เวียดนาม และ
                 ตะวันออกเฉียงใต้              ตะวันออกเฉียงใต้ เช่น แหล่งมรดก  กัมพูชา ที่อพยพเคลื่อนย้ายสู่ทุ่งกุลา

                                               โลกในประเทศต่าง ๆของเอเชีย    ร้องไห้ ที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง และพื้นที่
                                               ตะวันออกเฉียงใต้              จังหวัดร้อยเอ็ด
                                                   อิทธิพลของอารยธรรมโบราณ    อิทธิพลของอารยธรรมโบราณ
                                               ในดินแดนไทยที่มีต่อพัฒนาการของ ในทุ่งกุลาร้องไห้ ที่มีต่อพัฒนาการ
                                               สังคมไทยในปัจจุบัน            ของสังคมไทยปัจจุบัน
                       มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก  ความภูมิใจ

               และธำรงความเป็นไทย

                       ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้


                 ตัวชี้วัด                     สาระการเรียนรู้แกนกลาง        สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
                 ม.๑/๑ อธิบายเรื่องราวทาง         สมัยก่อนประวัติศาสตร์ใน     ภาชนะดินเผาสมัยก่อน
                 ประวัติศาสตร์สมัยก่อนสุโขทัยใน  ดินแดนไทย โดยสังเขป         ประวัติศาสตร์ในทุ่งกุลาร้องไห  ้
                 ดินแดนไทยโดยสังเขป                 รัฐโบราณในดินแดนไทย เช่น    รัฐโบราณในดินแดนทุ่งกุลา
                                               ศรีวิชัยตามพรลิงค์   ทวารวดี เป็น  ร้องไห้ เช่น อาณาจักรเจนละ
                                               ต้น                           ปราสาทขอม เป็นต้น


                       ๔.๒.๔ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ -๖
                       มาตรฐานการเรียนรู้ :


                       มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้
               วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ


                 ตัวชี้วัด                     สาระการเรียนรู้แกนกลาง        สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
                 ม.๔-๖/๑ ตระหนักถึงความสำคัญ      เวลาและยุคสมัยทาง           การระบุเวลาในจารึกพระเจ้า
                 ของเวลาและยุคสมัยทาง          ประวัติศาสตร์ที่ปรากฏในหลักฐาน  จิตรเสน และการระบุเวลาในจารึกกู่
                 ประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการ    ทางประวัติศาสตร์ไทยและ        โพนระฆัง เปรียบเทียบกับเหตุการณ์
                 เปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ       ประวัติศาสตร์สากล             สำคัญทางประวัติศาสตร์ในลุ่มแม่น้ำ
                                                     ตัวอย่างเวลาและยุคสมัยทาง  สินธุ แม่น้ำฮวงโหว และอังกฤษ

                                               ประวัติศาสตร์ของสังคมมนุษย์ที่มี
                                               ปรากฏในหลักฐานทาง
                                               ประวัติศาสตร์
                                                    ความสำคัญของเวลาและยุค
                                               สมัยทางประวัติศาสตร์
                 ม.๔/๖/๒ สร้างองค์ความรู้ใหม่ทาง     ขั้นตอนของวิธีการทาง     การทำโครงงานประวัติศาสตร์
                 ประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการทาง  ประวัติศาสตร์ โดยนำเสนอตัวอย่าง ท้องถิ่น โดยนำเสนอขั้นตอนของ
                 ประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ    ทีละขั้นตอนอย่างชัดเจน        วิธีการทางประวัติศาสตร์ และ
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63