Page 53 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 53

30


                              ๓.๕.๒ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอ็ด นำหน่วยการเรียนรู้ต้นแบบประวัติศาสตร์

               ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ ไปทดลองจัดการเรียนรู้ ระหว่างวันที่ ๓-๔ สิงหาคม
               ๒๕๖๖ ณ โรงเรียนบ้านกู่กาสิงห์ ตำบลกู่กาสิงห์ อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ซึ่งเป็นการเลือกแบบ
               เจาะจง เนื่องจากเป็นสถานศึกษาที่มีโบราณสถานกู่กาสิงห์ตั้งอยู่ในพื้นที่ชุมชน




                       ๓.๖ วิพากษ์และประเมินผลการใช้หน่วยการเรียนรู้ต้นแบบประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด
               โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

                              ๓.๖.๑ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอ็ด ดำเนินการวิพากษ์หลังการทดลองใช้หน่วยการ
               เรียนรู้ต้นแบบประวัติศาสตร์ท้องถิ่น โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ระดับชั้น ม. ๑-๓ ในวันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ณ

               ห้องประชุมโรงเรียนบ้านดงครั่งน้อย ตำบลดงครั่งน้อย อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอด โดยใช้กระบวนการ
                                                                                       ็
               PLC ในการวิพากษ์และถอดบทเรียน มีผู้เข้าร่วมวิพากษ์ประกอบด้วยนายสมนึก  โนริรัตน์ ผู้อำนวยการ
               โรงเรียนบ้านดงครั่งน้อย นางสาวอัชรา  ขันธวงษ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านโพนแท่น (โรงเรียนในกลุ่ม

                                        ั
                                      ิ
               เครือข่ายดงครั่งน้อย) นายพพฒนชัย  ศรีสุชัย ครูหัวหน้างานวิชาการโรงเรียนบ้านดงครั่งน้อย นายศราวุฒิ
                     ุ้
               หอมฟง ครูผู้สอนกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมโรงเรียนบ้านดงครั่งน้อย และนายธิติพันธุ์  อวน
               ศรี ศึกษานิเทศก์ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอ็ด
                              ๓.๖.๒ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอ็ด ดำเนินการวิพากษ์หลังการทดลองใช้หน่วยการ
               เรียนรู้ต้นแบบประวัติศาสตร์ท้องถิ่น โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ระดับชั้น ประถมศกษาปีที่ ๔ - ๖ ในวันที่ ๔ สิงหาคม
                                                                               ึ
               ๒๕๖๖ ณ ห้องประชุมโรงเรียนบ้านกู่กาสิงห์ ตำบลกู่กาสิงห์ อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยใใช้
               กระบวนการ PLC ในการวิพากษ์และถอดบทเรียน มีผู้เข้าร่วมวิพากษ์ประกอบด้วย นายปัญญา  สุระโส

               ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านกู่กาสิงห์ นายสวัสดิ์ นาปองสี รองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านกู่กาสิงห์ นางสุทารี  สมสุข
               ครูผู้สอนกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และนายธิติพันธุ์ อวนศรี ศึกษานิเทศก์ สำนักงาน

               ศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอ็ด


                       ๓.๗  วิเคราะห์ สรุปผล และอภิปรายผล
                       สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอ็ด ดำเนินการวิเคราะห์ สรุปผลและอภิปรายผล โดยใช้วิธีพรรณนา

               วิเคราะห์ ตามข้อเสนอแนะของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
                       ๓.๘ เผยแพร่
                       สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอ็ด ร่วมกับสำนักงานศึกษาธิการภาค ๑๒ จัดเวทีเผยแพร่และ
               แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Show and Share) วันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๖๖ โรงเรียนบ้านกู่กาสิงห์ อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัด

               ร้อยเอ็ด

                       ๓.๙ ยกย่องเชิดชูเกียรติ
                       สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอ็ด ร่วมกับสำนักงานศึกษาธิการภาค ๑๒ จัดเวทียกย่องเชิดชูเกียรติ
               ตามวัน เวลา และสถานที่ ที่สำนักงานศกษาธิการภาค ๑๒ กำหนด
                                                ึ
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58