Page 55 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 55

32


                       สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอ็ด ได้รับความอนุเคราะห์จากคณะครู ผู้บริหาร และศึกษานิเทศก์

               จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต ๑ , ๒ , ๓ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
               มัธยมศึกษาร้อยเอ็ด และเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้สาระประวัติศาสตร์ ได้
               ช่วยเหลือ แนะนำและระดมความคิดในการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ต้นแบบประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัด

               ร้อยเอ็ด


                       ๔.๒ ผลการวิเคราะห์ตัวชวัดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ปรับปรุง
                                            ี้
               ๒๕๖๐ สาระประวัติศาสตร์ ที่สอดคล้องกับสาระประวัติศาสตร์ท้องถิ่น

                       สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอ็ด ได้ดำเนินการประชุมเพื่อคัดเลือก ตัวชี้วัดหลักสูตรแกนกลาง
                                                                                      ั
               การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ปรับปรุง ๒๕๖๐ สาระประวัติศาสตร์ ที่สอดคล้องกบสาระประวัติศาสตร์
               ท้องถิ่น เพอพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ต้นแบบประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด ดังนี้
                        ื่
                       ๔.๒.๑ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๓
                       มาตรฐานการเรียนรู้ : มาตรฐานที่ ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ใน

                                                            ์
               ด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณอย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถ
               วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น


                       ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้

                 ตัวชี้วัด                     สาระการเรียนรู้แกนกลาง        สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
                 ๑. ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้ง   ปัจจัยการตั้งถิ่นฐานของชุมชน   ปัจจัยการตั้งถิ่นฐานของชุมชน
                 ถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน    ซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยทางภูมิศาสตร์  ในทุ่งกุลาร้องไห / ลุ่มน้ำมูล / ลุ่ม
                                                                                         ้
                                               และปัจจัยทางสังคม เช่น ความ   น้ำชี
                                               เจริญทางเทคโนโลยี การคมนาคม

                                               ความปลอดภัย
                                                  ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการ   ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการ
                                               ของชุมชนทั้งปัจจัยทางภูมิศาสตร์  ของชุมชนในทุ่งกุลาร้องไห้ / ลุมน้ำ
                                               และปัจจัยทางสังคม             มูล / ลุ่มน้ำชี
                 ๒. สรุปลักษณะที่สำคัญของ         ขนบธรรมเนียม ประเพณีและ     ประเพณีบุญบั้งไฟ ประเพณีที่
                 ขนบธรรมเนียม ประเพณี และ      วัฒนธรรม ชุมชนของตนที่เกิดจาก  เกิดจากปัจจัยทางภูมิศาสตร์ของ

                 วัฒนธรรมของชุมชน              ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ และปัจจัยทาง ภาคอีสานและปัจจัยทางสังคมด้าน
                                               สังคม                         การประกอบอาชีพ
                 ๓. เปรียบเทียบความเหมือนและ      ขนบธรรมเนียมประเพณี และ     การเปรียบเทียบความแตกต่าง
                 ความต่างทาง วัฒนธรรมของชุมชน  วัฒนธรรมของ ชุมชน อื่น ๆ ที่มี  ระหว่างประเพณีบุญบั้งไฟในชุมชน

                 ตนเองกับชุมชนอื่น ๆ           ความเหมือนและความต่าง กับ     ของตนและชุมชนอื่น
                                               ชุมชนของตนเอง


                       ๔.๒.๒ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔-๖
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60