Page 50 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 50
27
ี่
ทั้งหมดนี้ จึงเห็นได้ว่า ครูประวัติศาสตร์ไม่จำเป็นต้องจำกัดตนอยู่ทการมีหน้าที่บอกเล่าเรื่องราวของ
อดีต หากแต่มีหน้าที่ส่งเสริมบ่มเพาะให้ผู้เรียนสร้างสำนึกที่ดีงาม เพื่อความเป็นพลเมืองโลกที่สามารถใช้ชีวิต
อย่างมีความสุข
จากการศึกษาเอกสาร วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอ็ด จึง
กำหนดบทบาทและภารกิจของการศึกษาครั้งนี้ เป็นการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ต้นแบบประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
จังหวัดร้อยเอ็ด (หมายเลข ๕) ของแผนภาพโดยสนับสนุนเนื้อหาความเป็นประวัติศาสตร์ท้องถิ่น (หมายเลข
๗) เพื่อให้การจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางมีประสิทธิภาพมากที่สุด
๑
๗
๒
๓
๔
๕
ส่วนที่ ๓
๖ วิธีดำเนินงาน
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอ็ด พัฒนาหน่วยการเรียนรู้ต้นแบบประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัด
ร้อยเอ็ด โดยยึดมาตรฐานและตัวชีวัดของกลุ่มสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกษา
ึ
ขั้นพื้นฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยนำตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ท้องถิ่น มา
จัดทำเป็นหลักสูตรประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของจังหวัดร้อยเอด ชื่อหน่วย : เรียนรู้ตัวตน ค้นหาอัตลักษณ์
็
สร้างสรรค์นวัตกรรม นำสู่รายได้ ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจอัตลักษณ์ของตนเองและ
ชุมชน สามารถพัฒนาสินค้าและบริการที่เกี่ยวเนื่องจากภูมิปัญญาท้องถิ่น นำไปสู่การจำหน่ายสินค้าและ
บริการ มีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้
๑. ประสานเครือข่ายพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ต้นแบบประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด เพื่อแต่งตั้ง
คณะทำงานยกร่างกรอบเนื้อหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ได้แก่
๑.๑ พิพิธพัณฑสถานแห่งชาติร้อยเอ็ด
๑.๒ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
๑.๓ สำนักงานเขตพื้นที่การศกษา
ึ