Page 51 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 51

28


                                                           ึ
                       ๒. วิเคราะห์ตัวชี้วัดหลักสูตรแกนกลางการศกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ปรับปรุง ๒๕๖๐ สาระ
                                       ั
               ประวัติศาสตร์ ที่สอดคล้องกบสาระประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
                       ๓. จัดทำสารสนเทศเนื้อหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเพออำนวยความสะดวกในการนำไปจัดทำหน่วยการ
                                                                 ื่
               เรียนรู้ โดยร่วมมือกับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติร้อยเอ็ด

                       ๔. จัดทำหน่วยการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นต้นแบบ และนำเสนอต่อ กศจ.
                       ๕. ส่งเสริมการนำหน่วยการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในสถานศึกษานำร่อง

                       ๖. ติดตามผลการใช้หน่วยการเรียนรู้ต้นแบบของสถานศกษานำร่อง
                                                                    ึ
                       ๗. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้หน่วยการเรียนรู้ต้นแบบของสถานศึกษานำร่อง เพื่อประเมินผล

               การใช้หน่วยการเรียนรู้ต้นแบบ
                       ๘. ปรับปรุงแก้ไขหน่วยการเรียนรู้ต้นแบบตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ

                       ๙. ยกย่องเชิดชูเกียรติสถานศึกษานำร่องที่ใช้หลักสูตรประสบผลสำเร็จจนมีวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
               (Best Practice) ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ และผลผลิตของผู้เรียน
                       ๑๐. เผยแพร่/ขยายผลหน่วยการเรียนรู้ต้นแบบประวัติศาสตร์ท้องถิ่น “เรียนรู้ตัวตน ค้นหาอัตลักษณ์

               สร้างสรรค์นวัตกรรม นำสู่รายได้”
                       โดยขอนำเสนอรายละเอียดขั้นตอนการดำเนินการดังนี้

                       ๓.๑ ประสานเครือข่ายพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ต้นแบบประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด เพื่อ
               แต่งตั้งคณะทำงานยกร่างกรอบเนื้อหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
                      สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอ็ด แต่งตั้งคณะทำงานยกร่างกรอบเนื้อหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น โดย

               ประกอบไปด้วยผู้เชี่ยวชาญดังนี้

                      ๑. นางสาวอโณทัย ทับทิม หัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติร้อยเอ็ด


                      ๒. ผศ.ดร. ปริญ  รสจันทร์ ประธานสาขาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด

                      ๓. ดร.สุวัฒนพงษ์ ร่มศรี รองศึกษาธิการจังหวัดมหาสารคาม ประธานชมรมครูสังคมศึกษาจังหวัดร้อยเอด
                                                                                                           ็

                      ๔. คณะศึกษานิเทศก์ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอ็ด

                                      ี้
                       ๓.๒ วิเคราะห์ตัวชวัดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ปรับปรุง ๒๕๖๐
               สาระประวัติศาสตร์ ที่สอดคล้องกับสาระประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
                       ประชุมวิเคราะห์คณะทำงานยกร่างกรอบเนื้อหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด ในวันที่ ๑๘

               เมษายน ๒๕๖๖ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. ณ ห้องประชุมเสมาร่วมใจ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอ็ด
               ตามระเบียบวาระการประชุมดังนี้
                       ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ

               ..............................................................................................................................................................................
                       ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว

                       -ไม่ม-
                           ี
                       ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเสนอเพื่อทราบ
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56