Page 62 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 62
39
๒.๒ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ (ระดับชั้น ป.๕)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
๑. สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่น วิธีการสืบค้นความเป็นมาของ การสำรวจสถานที่และวัตถุสิ่งของที่
โดยใช้หลักฐาน ที่หลากหลาย ท้องถิ่น สำคัญในชุมชนเพื่อกำหนดประเด็นในการ
สืบค้น
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มี สถานที่ที่มีความเก่าแก่ในชุมชน
อยู่ในท้องถิ่น ที่เกิดขึ้นตามช่วงเวลา โบราณสถานกู่กาสิงห์ กู่โพนวิจ และกู่โพน
ต่างๆ เช่น เครื่องมือ เครื่องใช้ อาวุธ ระฆัง
โบราณสถาน โบราณวัตถุ
การนำเสนอความเป็นมาของ
ท้องถิ่นโดย อ้างอิงหลักฐานที่
หลากหลายด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น
การเล่าเรื่องการเขียนอย่างง่าย ๆ
การจัดนิทรรศการ
๒. รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ การตั้งคำถามทางประวัติศาสตร์ ตั้งคำถามเกี่ยวกับความเป็นมาของ
เพื่อตอบ คำถามทางประวัติศาสตร์ เกี่ยวกับ ความเป็นมาของท้องถิ่น ชุมชนหมู่บ้าน หรืออำเภอที่นักเรียนอยู่
อย่างมีเหตุผล เช่น มีเหตุการณ์ ใดเกิดขึ้นใน อาศัย ได้แก่ โบราณสถานกู่กาสิงห์ กู่โพนวิจ
ช่วงเวลาใด เพราะสาเหตุใด และมี และกู่โพนระฆัง
ผลกระทบอย่างไร ระบุแหล่งข้อมูลและเข้าถึงแหล่งข้อมูล
แหล่งข้อมูลและหลักฐานทาง ในการศึกษาค้นคว้าความเป็นมาของสถานที่
ประวัติศาสตร์ ในท้องถิ่นเพื่อตอบ หรือข้าวของเครื่องใช้ในชุมชน
คำถามดังกล่าว เช่น เอกสาร เรื่อง
เล่า ตำนานท้องถิ่น โบราณสถาน -
โบราณวัตถุ ฯลฯ
การใช้ข้อมูลที่พบเพื่อตอบ
คำถามได้อย่างมี เหตุผล
๓. สมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร
๓.๑ หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ๓.๒ ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๓.๓ คุณลักษณะอันพึง
ขั้นพื้นฐาน ประสงค์
๓.๑.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๓.๒.๑ Critical thinking การคิดเชิง ๓.๓.๑ ใฝ่เรียนรู้
วิพากษ ์
๓.๑.๒ ความสามารถในการคิด ๓.๒.๒ Creativity การคิดสร้างสรรค์ ๓.๓.๒ รักความเป็นไทย
และนวัตกรรม ภูมิใจในท้องถิ่น
๓.๑.๓ ความสามารถในการ ๓.๒.๓ Collaboration การทำงาน ๓.๓.๓ มุ่งมั่นในการทำงาน
แก้ปัญหา เป็นทีม
๓.๑.๕ ความสามารถในการใช้ ๓.๒.๔ Communication การสื่อสาร
ทักษะชีวิต