Page 61 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 61
38
๔.๓.๘ ประวัติเมืองร้อยเอ็ด รวบรวมโดย วีระ วุฒิจำนงค์ ไม่ปรากฏปีที่พิมพ ์
๔.๓.๙ สาเกตนคร ข้อมูลประวัติศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรม จังหวัดร้อยเอ็ด โดย สำนักงาน
ศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอ็ด
๔.๔ ผลการศึกษาแนวทางพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
๔.๔.๑ ผลการศึกษากรณีการจัดทำหน่วยการเรียนรู้บูรณาการข้ามกลุ่มสาระ ระหว่างกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย กับกลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม เพื่อจัดทำหน่วยการเรียนรู้พัฒนาสมรรถนะ
ั
การสื่อสาร สู่การมีงานทำ ผ่านกิจกรรมมคคุเทศก์น้อยนำเที่ยวกู่กาสิงห์
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการข้ามสาระ : สาระการฟัง ดู พูด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และ
สาระประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
์
๑. ชื่อหน่วย : มัคคุเทศก์น้อยนำเที่ยวกู่กาสิงห เวลา : ๑๕ ชั่วโมง
๒. มาตรฐานการเรียนรู้ :
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพดแสดงความรู ความคิด และ
ู
ความรูสึกในโอกาส ตาง ๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค์
๒.๑ ตัวชี้วัดและสารการเรียนรู้ (ระดับชั้น ป.๓)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
๑. เลารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ การจับใจความและพูดแสดงความ การจับใจความสำคัญเรื่องเล่าและ
ฟงและดูทั้งที่เปนความรูและความ คิดเห็นและ ความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและ สารคดีเกี่ยวกับกู่กาสิงห์ กู่โพนวิจ และกู่
บันเทิง ดูทั้งที่เปนความรู และความบันเทิง เชน โพนระฆัง
๒. บอกสาระสําคัญจากการฟงและ - เรื่องเลาและสารคดีสําหรับเด็ก
การดู - นิทาน การตูน เรื่องขบขัน
๓. ตั้งคําถามและตอบคําถามเกี่ยว การพูดสื่อสารในชีวิตประจําวัน เชน
กับเรื่องที่ฟงและดู - การแนะนําตนเอง การพูดแนะนำตนเอง แนะนำ
๔. พูดแสดงความคิดเห็นและความรู - การแนะนําสถานที่ในโรงเรียนและใน โบราณสถานกู่กาสิงห์ กู่โพนวิจ และกู่
สึก จากเรื่องที่ฟงและดู ชุมชน โพนระฆัง
๕. พูดสื่อสารไดชัดเจนตรงตาม วัตถุ - การเลาประสบการณในชีวิตประจําวัน
ประสงค - การพูดในโอกาสตางๆ เชน การพูดขอ
รอง การพูดทักทาย การกลาวขอบคุณ
และขอโทษ การพูดปฏิเสธ และการพูด การพูดขอบคุณนักท่องเที่ยว ที่มา
ชักถาม เที่ยวชมกู่กาสิงห์ กู่โพนวิจ และกู่โพน
ระฆัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น