Page 81 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 81
58
สืบสานและต่อยอดวัฒนธรรมในท้องถิ่นที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมในปัจจุบัน ซึ่งผู้เรียนจะ
ได้รับประสบการณ์เป็นองค์ความรู้ (Knowledge : K) กระบวนการ (Processes : P) และเจตคติ (Attitude)
ดังนี้
๓.๑ องค์ความรู้ (Knowledge : K) ได้แก่
๓.๑.๑ ขั้นตอนการสืบเสาะทางประวัติศาสตร์และการทำโครงงานประวัติศาสตร์
๓.๑.๒ ข้อมูลพื้นฐานพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้และเมืองร้อยเอ็ด ด้านสังคม การเมือง เศรษฐกิจ
ภูมิศาสตร์ ในสมัยกอนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่ลุ่มแม่น้ำฮวง
่
โหว แม่น้ำสินธุ และลุ่มน้ำไทกิส - ยูเฟติส
๓.๑.๓ พงศาวดารเมืองร้อยเอ็ด
๓.๑.๔ ประเพณีบุญผะเหวด
๓.๒ กระบวนการ (Processes : P)
๓.๒.๑ ลงมือสืบเสาะทางประวัติศาสตร์ตามประเด็นความสนใจ
๓.๒.๒ ออกแบบแนวทางการมีส่วนร่วมในการสืบสานและต่อยอดประเพณีบุญผะเหวด
๓.๒.๓ ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการทางภูมิปัญญาด้านอาหารการกิน ที่สัมพันธ์กับการ
อพยพเคลื่อยย้ายประชากรของกลุ่มชนเผ่าในจังหวัดร้อยเอ็ด
๓.๒.๔ ใช้กระบวนการกลุ่ม ค้นคว้าข้อมูลด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ภูมิศาสตร์ของทุ่ง
กุลาร้องไห้ และเมืองร้อยเอ็ด เพื่อเปรียบเทียบช่วงเวลารุ่งเรืองและเสื่อมสลายของอารยธรรม ลุ่มแม่น้ำโขง แม่
ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ลุ่มแม่น้ำสินธุ ลุ่มแม่น้ำฮวงโหว ลุ่มแม่น้ำไทกิส ยูเฟติส และจักรวรรดิอังกฤษ
๓.๓ เจตคติ (Attitude)
๓.๓.๑ มีความตระหนักในการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่มีผลต่อพัฒนาการของประเพณบุญผะ
เหวด
๓.๓.๒ มีแรงบันดาลใจในการเป็นผู้ประกอบการที่ใส่ใจชุมชนและสังคมในอนาคต
๔. สมรรถนะสำคัญ
๔.๑ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๔.๒ ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑
๔.๑.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๔.๒.๑ Critical thinking การคิดเชิงวิพากษ์
๔.๑.๒ ความสามารถในการคิด ๔.๒.๒ Creativity การคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
๔.๑.๓ ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔.๒.๓ Collaboration การทำงานเป็นทีม
๔.๑.๕ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔.๒.๔ Communication การสื่อสาร