Page 16 - หน้าปกโครงการ_merged
P. 16
6
2.2.1.4 การพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบุคคลอย่างมีวุฒิภาวะ ( Developing Mature
ั
Interpersonal Relations ) เป็นการพฒนาความอดกลั้น การยอมรับนับถือบุคคลที่มีความแตกต่าง
ั
กัน กับตนเอง ทั้งในด้านภูมิหลัง อปนิสัย ค่านิยม และเชื้อชาติ โดยการพฒนาจากการขาดความ
ุ
เข้าใจใน ความแตกต่างระหว่างบุคคล ขาดความอดทน ไม่มีมิตรภาพที่ยั่งยืน ไปสู่การสร้าง
ความสัมพนธ์ที่ ถาวรระหว่างบุคคล มีความเข้าใจ มีความอดทน ยอมรับความแตกต่าง และมีความ
ั
ผูกพันกับเพื่อน คนรัก และเพื่อนร่วมงาน
2.2.1.5 การสร้างเอกลักษณ์ของตนเอง ( Establishing Identity ) เป็นการยอมรับการ
ั
เปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายในช่วงวัยรุ่นสู่วัยผู้ใหญ่ตอนต้น เป็นการพฒนาบุคลิกภาพของตนเอง
เกี่ยวกับลักษณะท่าทาง และการแสดงบทบาทให้สอดคล้องกับเพศของตน พฒนาความสนใจในด้าน
ั
อาชีพ การดำรงชีวิตที่เหมาะสมกับตนเอง บุคลิกภาพของตนเองไปสู่การรู้จักตนเอง ยอมรับตนเอง
มั่นใจในตนเองมากขึ้น
ั
2.2.1.6 การพฒนาเป้าหมาย ( Developing Purpose ) เป็นความสามารถในการบูร
ณาการ เป้าหมายในด้านอาชีพ งานอดิเรก การวางแผนในการดำรงชีวิต โดยการพฒนาจากความ
ั
สนใจที่ แคบๆ กระจัดกระจาย ไม่มั่นใจในอาชีพ ไปสู่การมีเป้าหมายชีวิตของตนเองที่ชัดเจน
2.2.1.7 การพัฒนาบูรณาการของชีวิต ( Developing Integrity ) เป็นการพัฒนาตนเอง
ให้ สามารถควบคุมพฤติกรรมของตน มีความเชื่อในตนเอง มีความพงพอใจในชีวิตของตนเอง มี
ึ
ค่านิยม ที่ดีต่อความเป็นมนุษย์ โดยการพัฒนาจากความคิดที่ตายตัว ยอมรับและเคารพความคิดของ
ผู้อื่นมั่นคงใน ค่านิยมของตนเอง และมีความรับผิดชอบต่อสังคมมากขึ้น
2.2.2 ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยตนเอง Vygotsky (Vedeboncoeur 1997: 27 citing Vygotsky
1986:) มาจากแนวคิดทฤษฎีของการสร้างความรู้ใหม่ด้วยตนเองตามปรัชญาสร้างสรรค์ความรู้นิยม
ื้
(Constructivism) เป็นทฤษฎีการเรียนรู้ที่มีพนฐานทางจิตวิทยาปรัชญาและมานุษยวิทยาโดยเฉพาะ
อย่างยิ่งจากจิตวิทยาด้านปัญญา (Cognitive psychology) โดยเชื่อว่าความรู้ไม่ได้มาจากการค้นพบ
ภายนอกหรือสิ่งแวดล้อมแต่เป็นความรู้ที่มนุษย์สร้างขึ้นภายในจิตใจแนวคิดทฤษฎีการสร้างความรู้
ด้วยตนเองของ Vygotsky มีความเชื่อว่าการพัฒนาตนเองของบุคคลมีอทธิพลมาจากบริบททางสังคม
ิ
ั
ั
สิ่งแวดล้อมและปฏิสัมพนธ์ระหว่างบุคคลซึ่งจะส่งผลต่อวิธีการหาความรู้ในการเรียนเช่นพฒนาการ
ด้านภาษาเป็นการเรียนรู้จากบุคคลรอบข้างและการติดต่อสื่อสารในสถาบันซึ่งจะส่งผลต่อวิธีการหา
ความรู้ในการเรียนพฒนาการด้านสติปัญญาของมนุษย์เป็นการเชื่อมโยงความรู้จากสังคมสู่บุคคล
ั
แนวคิดของ Vygotsky
2.2.3 ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic learning) (ทิศนาแขมมณี 2550:
133-137) ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic learning) เป็นแนวทางหนึ่งที่นำมาใช้
ั
ในการพฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนได้เป็นอย่างดีทิศนาแขมมณี (ทิศนาแขมมณี 2550-137-139) ได้