Page 18 - หน้าปกโครงการ_merged
P. 18

8




                                                   2)  การสะท้อน (Reflection) ไตร่ตรองในสิ่งที่ทำไปแล้วทักษะที่
                                                                                                      ื่
                       ต้องการคือความตั้งใจการวิเคราะห์ความแตกต่างและความสามารถในการติดต่อสื่อสารกับผู้อนทั้ง
                       ด้านค่านิยมทัศนคติความเชื่อ
                                                    3)  นามธรรม (Corseptualization) หมายรวมถงเหตุการณ์ที่สังเกต
                                                                                          ึ
                       ได้และเข้าใจถึงความสัมพนธ์ระหว่างกันแนวคิดที่ได้จะช่วยในการกำหนดกรอบและอธิบายเหตุการณ์
                                            ั
                           ึ้
                       เกิดขน
                                                   4)  การวางแผน (Planning) ช่วยให้เข้าใจในสิ่งใหม่และสามารถ

                       ทำนายได้ว่าจะเกิดอะไรขึ้นต่อไปต่อมา Kolb สร้างรูปแบบการเรียนรู้เชิงประสบการณ์)















                                         ภาพที่ 2.2 แสดง รูปแบบการเรียนการรู้เชิงประสบการณ์


                       2.3  แนวคิดเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

                             2.3.1  ความหมายของการเตรียมความพร้อม
                                      ไลเบอร์แมน ( Lieberman David A . 1992 : 235 ) กล่าวถึงความหมายของการเตรียม

                                                                           ื่
                       ความพร้อม หมายถึง การที่บุคคลมีการวางแผนให้กับตนเองเพอให้พร้อมที่จะเรียนรู้ในสิ่งต่างๆ ทำ
                       ให้บุคคลเกิดความพอใจและเกิดตามที่มุ่งหวังไว้  อรุณพร เนียมสุวรรณ ( 2549 : 11 ) กล่าวว่า การ
                       เตรียมความพร้อม หมายถึง การแสดง พฤติกรรมของบุคคลในการเตรียมตัวเพอให้เกิดความพร้อมที่
                                                                                        ื่
                       จะเรียนรู้หรือกระทำสิ่งต่างๆ โดย สามารถควบคุมตนเอง เพอให้เกิดความพร้อมทั้งทางด้านร่างกาย
                                                                         ื่
                       และจิตใจ สำหรับการเรียนรู้หรือ ภารกระทำสิ่งต่าง ๆ เพอให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ นานา / LL
                                                                       ื่
                       กุสุมา ยกฐ ( 2553 : 25 ) กล่าวถึงความหมายของการเตรียมความพร้อม หมายถึง การ แสดงออก

                                                                                                      ื่
                       ของบุคคลทางด้านของความคิด ความรู้สึก ทัศนคติ และการแสดงพฤติกรรมในการ เตรียมตัวเพอให้
                       เกิดความพร้อมที่จะเรียนรู้ โดยสามารถควบคุมตนเองประกอบกับการวางแผนใช้ เวลาที่เหมาะสมมี

                       การเอาใจใส่ หมั่นฝึกฝน เพอให้บรรลุในเป้าหมายที่ต้องการ จากความหมายของนักวิชาการหลายๆ
                                              ื่
                       ท่านที่กล่าวมาข้างต้น
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23