Page 17 - หน้าปกโครงการ_merged
P. 17

7




                       ให้นิยามหลักการองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของการจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริง การจัดการเรียนรู้ตาม
                       สภาพจริงการจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริงหมายถึงการดำเนินการช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้โดย

                       การให้ผู้เรียนเข้าไปเผชิญปัญหาในสภาพจริงปัญหาจริงในบริบทจริงและร่วมกันศึกษาเรียนรู้แสวงหา
                                                    ื่
                                                                                             ั
                       ความรู้และข้อมูลและวิธีการต่างๆเพอที่จะแกไขปัญหาผลการแก้ไขปัญหาสอดคล้องกบสภาพเป็นจริง
                                                            ้
                       แนวคิดการตัดสินใจและนำไปสู่การนำไปใช้ในชีวิตประจำวันหลักการของการจัดการเรียนรู้ตามสภาพ
                       จริงหลักการพื้นฐานของการจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริงมีดังนี้
                                      2.2.3.1  การเรียนรู้ใดๆก็ตามย่อมมีความสัมพันธ์กับเรื่องๆนั้นเป็นการเรียนรู้ที่

                       คำนึงถึงบริบทสิ่งแวดล้อมที่สัมพันธ์กับความเป็นจริงเพื่อให้ผู้เรียนนำไปใช้ในชีวิตจริงได้
                                      2.2.3.2  สภาพจริงข้อมูลจริงเป็นโลกแห่งความเป็นจริงซึ่งทุกคนจะต้องเผชิญ ดังนั้น

                       การให้ผู้เรียนเผชิญกับสภาพการณ์จริงปัญหาจริงจึงเป็นโอกาสที่ช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้ความเป็น

                                      2.2.3.3  การเรียนรู้ความเป็นจริงของจริงเป็นการเรียนรู้ที่มีความหมาย เพราะ
                       สามารถนำไปใช้ได้เป็นประโยชน์ต่อนักเรียนจึงเป็นสิ่งที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความใฝ่รู้อยากเรียนรู้

                                      2.2.3.4  การให้นักเรียนเผชิญปัญหาและแก้ปัญหาจะช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะที่

                       จำเป็นต่อการดำรงชีวิตจำนวนมาก
                                                                                              ิ
                                                 สรุปได้ว่าหลักการเรียนรู้ตามสภาพจริงเป็นการเรียนรู้ที่ต้องพจารณาบริบท
                       แวดล้อมกับความเป็นจริงกบสิ่งที่ต้องการเรียนรู้ผู้เรียนได้มีโอกาสได้เผชิญกับสถานการณ์จริงนักเรียน
                                             ั
                       สามารถนำความรู้ทักษะประสบการณ์ไปใช้ได้จริง















                                           ภาพที่ 2.1 แสดง วงจรการเรียนรู้เชิงประสบการณ์


                       จากแผนภาพที่ 2.1 แสดง  สามารถอธิบายวงจรการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ดังนี้
                                                   1)  การสร้างประสบการณ์ (Experiencing) การกระทำ“ Doing

                       "งานไม่ว่าจะเป็นงานเดี่ยวงานกลุ่ม
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22