Page 109 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 109

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
การกระจายอําานาจการปกครองและโครงสร้างระหว่างประเทศ
ข้อดีและข้อเสียของการกระจายอําานาจการปกครอง (Decentralisation) เพอื่ บรรเทาสถานการณค์ วามไมส่ งบเปน็ ประเดน็ ทถี่ กเถยี งกนั มานานในวงการวชิ าการ แต่กลับไม่ได้มีการพัฒนาทางด้านทฤษฎีมากนัก2 ส่วนหน่ึงอาจจะเป็นเพราะการ กระจายอาํา นาจการปกครองมหี ลากหลายรปู แบบ ซงึ่ ขนึ้ อยกู่ บั บรบิ ทของรฐั และสภาพ ปญั หาความไมส่ งบในพนื้ ที่ ดงั นนั้ การกระจายอาํา นาจการปกครองตามการนยิ ามของ บทน้ีจึงมีความหมายกว้าง (Generic Term) ท่ีครอบคลุมถึงการถ่ายโอนอําานาจจาก ส่วนกลางไปสู่ท้องถ่ิน3 หรือกล่าวอีกนัยหน่ึงว่าเป็นการปรับโครงสร้างอําานาจรัฐ รวมท้ังความสัมพันธ์ระหว่างส่วนกลางและส่วนท้องถ่ิน ท้ังนี้ การถ่ายโอนอําานาจการ ปกครองในดา้นใดบา้ง(เชน่ ดา้นศาสนาดา้นการปกครองหรอืดา้นงบประมาณ)และ ถ่ายโอนในระดับมากน้อยเพียงใดนั้น ขึ้นอยู่กับฝ่ายรัฐเป็นสําาคัญ
นอกจากการกระจายอําานาจการปกครองในแต่ละพ้ืนที่จะมีความแตกต่าง ทางด้านอําานาจท่ีถ่ายโอนจากส่วนกลางแล้ว การกระจายอําานาจยังมีหลากหลายรูป แบบ เช่น สหพันธรัฐ (Federal State) ท่ีเป็นการถ่ายโอนอําานาจจากส่วนกลางใน ลกั ษณะทร่ี ฐั บาลในแตล่ ะรฐั จะมอี าํา นาจปกครองเทา่ กนั ตามทรี่ ฐั ธรรมนญู กาํา หนด และ มีการแบ่งอําานาจระหว่างกันอย่างชัดเจน สหพันธรัฐมีความแตกต่างจากเขตปกครอง ตนเอง (Autonomy) เพราะเป็นกระจายอําานาจเฉพาะ 1-2 พ้ืนที่เท่าน้ัน เช่น ใน ประเทศอินโดนีเซียมีการกระจายอําานาจท่ัวประเทศ แต่จะมีอยู่ 5 พื้นที่ที่มีลักษณะ พิเศษ ทําาให้ในบางคร้ังอาจจะมีการนิยามการกระจายอําานาจการปกครองในรูปแบบ น้ีว่าเป็นเขตปกครองตนเองแบบอสมมาตร (Asymmetric Autonomy) เนื่องจาก การกระจายอาํา นาจปกครองไมเ่ ทา่ กนั ทวั่ ประเทศเหมอื นกบั รปู แบบการปกครองแบบ
2 Yash Ghai, “Introduction,” in Autonomy and ethnicity: negotiating competing claims in multi-ethnic states, ed. Yash Ghai (Cambridge: Cambridge University Press), 4.
3 Ibid, 8-9.
 99




























































































   107   108   109   110   111