Page 111 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 111

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
ต่อข้อเรียกร้องในการปกครองตนเองจากชนกลุ่มน้อยท่ีอาศัยอย่างกระจัดกระจาย ภายในอาณาจักรออสโตร–ฮังกาเรียน (the Austro-Hungarian Empire) และต่อมา ได้ถูกพัฒนาเป็นหลักการพ้ืนฐานในการทดลองทางรัฐธรรมนูญ (Constitutional Experiment) ในประเทศเอสโตเนีย เบลเยียม และสวิสเซอร์แลนด์ท่ีเป็นรัฐที่กลุ่ม ประชากรพูดได้หลายภาษา (Multi–Linguistic State)5
อย่างไรก็ตาม อาจจะมีหลายฝ่ายท่ีกังวลถึงโอกาสท่ีตัวแสดงภายนอกหรือ โครงสรา้ งระหวา่ งประเทศจะเปดิ ชอ่ งทางใหม้ กี ารแทรกแซงหรอื ผลกั ดนั ใหร้ ฐั ทม่ี คี วาม หลากหลายสงู ใหก้ ระจายอาํา นาจในรปู แบบตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเปน็ สหพนั ธรฐั การกระจาย อําานาจการปกครองแบบอสมมาตร หรือ NTA ก็ตาม ความกังวลเหล่าน้ีสืบเนื่องมา จากการทปี่ ระชาคมระหวา่ งประเทศมกี ารพฒั นากฎหมายและกตกิ าตา่ งๆ เพอื่ ปกปอ้ ง สทิ ธขิ องชนกลมุ่ นอ้ ย เชน่ กตกิ าระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยสทิ ธทิ างเศรษฐกจิ สงั คม และ วฒั นธรรม(InternationalCovenantonEconomic,SocialandCulturalRights, ICESCR) กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (Interna- tional Covenant on Civil and Political Rights, ICCPR) และหลักการความรับ ผิดชอบในการปกป้อง (Responsibility to Protect, R2P) เป็นต้น แต่เมื่อพิจารณา ในรายละเอียดแล้ว เราจะเห็นได้ว่ากติกาเหล่านี้ รวมทั้งกฎหมายและกรอบอ่ืนๆ ท่ีมี วัตถุประสงค์ในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและสิทธิของชนกลุ่มน้อยมีการระบุถึงข้อ ปฏิบัติท่ีรัฐควรและไม่ควรกระทําาต่อชนกลุ่มน้อย ส่วนในกรณีที่เกิดความขัดแย้งทาง อาวุธบานปลายน้ัน หลักการ R2P ได้กําาหนดถึงข้ันตอน เงื่อนไข รวมท้ังวิธีในการ แทรกแซงตา่ งๆ เพอ่ื หยดุ ยง้ั ความรนุ แรงและปกปอ้ งชวี ติ ประชาชน แตใ่ นขณะเดยี วกนั กฎหมายระหว่างประเทศซ่ึงเป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างระหว่างประเทศไม่ได้สร้าง เงอ่ื นไขหรอื บงั คบั ใหร้ ฐั ภาคตี อ้ งมกี ารกระจายอาํา นาจการปกครอง ดงั นนั้ ตวั แสดงใดๆ ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐหรือตัวแสดงภายนอกจึงไม่สามารถอ้างกฎหมาย ระหวา่ งประเทศเพอ่ื เรยี กรอ้ งหรอื กดดนั ใหร้ ฐั กระจายอาํา นาจการปกครองเพอื่ บรรเทา
5 John Coakley, Non-territorial Autonomy in Divided Societies: Comparative Perspectives (Abingdon: Routledge, 2017).
 101






























































































   109   110   111   112   113