Page 112 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 112
รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
สถานการณ์ความขัดแย้ง6 Geoff Gilbert อาจารย์ประจําาศูนย์กฎหมายทางด้าน มนษุ ยธรรม มหาวทิ ยาลยั เอสเซกซ์ (University of Essex) ไดถ้ กเถยี งวา่ เปน็ การยาก ที่ประชาคมระหว่างประเทศจะผลักดันประเด็นนี้เป็นกฎหมายในอนาคต เนื่องจาก การวางรากฐานหรอื ปรบั เปลยี่ นโครงสรา้ งบรหิ ารประเทศเปน็ สทิ ธแิ ละอาํา นาจของรฐั ดังนั้นการกดดันรัฐเพ่ือให้กระจายอําานาจการปกครองจึงถือเป็นการก้าวก่ายอําานาจ อธิปไตยของรัฐ เพราะโครงสร้างอําานาจปกครองถือเป็นเรื่องกิจการภายในอันถูก รับรองด้วยกฎบัตรสหประชาชาติ7 และดังเช่นที่เน้นยํา้ามาโดยตลอดว่า โครงสร้าง ระหว่างประเทศยังให้ความสําาคัญกับการเคารพอําานาจอธิปไตยของรัฐตามหลักการ เวสตฟ์ าเลยี ดงั นน้ั การทรี่ ฐั ตา่ งๆ ทมี่ คี วามหลากหลายสงู ไดม้ กี ารกระจายอาํา นาจการ ปกครองเพ่ือเป็นการป้องกันหรือบรรเทาความขัดแย้ง จึงเกิดจากการริเร่ิมของรัฐเอง มิใช่เป็นผลมาจากการกดดันจากตัวแสดงในประชาคมระหว่างประเทศ
แตท่ ง้ั น้ี อาจจะมใี นบางกรณที มี่ กี ารกดดนั ใหร้ ฐั กระจายอาํา นาจการปกครอง เพอื่ ปกปอ้ งสทิ ธขิ องชนกลมุ่ นอ้ ย เชน่ ในชว่ งปลายทศวรรษ 2530 องคก์ ารสนธสิ ญั ญา แอตแลนติกเหนือหรือนาโต (North Atlantic Treaty Organisation, NATO) เคย “ถือสิทธิ” ในการกดดันให้อดีตประเทศยูโกสลาเวียเปิดการเจรจาเพ่ือยุติความ รุนแรงในคอซอวอ (Kosovo) และ “พิจารณา” การกระจายอําานาจการปกครองเพื่อ เคารพสิทธิของชนกลุ่มน้อย ซ่ึงในท่ีสุดได้นําามาสู่การปฏิบัติการทางทหารของนาโต และสหรัฐอเมริกาที่โจมตียูโกสลาเวียทางอากาศอย่างหนักเป็นระยะเวลากว่า 90 วัน ผลจากการปฏิบัติการดังกล่าวได้ทําาให้หลายภาคส่วนมีการต้ังคําาถามเกี่ยวกับความ ชอบธรรมของการโจมตีทางอากาศของนาโต เนื่องจากไม่ได้รับความเห็นชอบจาก คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (United Nations Security Council, UNSC) อีกทั้งยังมีการโจมตีเป้าหมายที่เป็นพลเรือนอีกด้วย
6 Geoff Gilbert, “Autonomy and Minority Groups: A Right in International Law,” Cornell International Law Journal 35, no. 2 (2002): 309-310.
7 Ibid, 310.
102