Page 113 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 113

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
อย่างไรก็ดี แม้ว่าโครงสร้างระหว่างประเทศไม่ได้มีการสร้างเง่ือนไขหรือข้อ บังคับ แต่อาจจะมีตัวแสดงในเวทีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่มีความพยายามใน การสง่ เสรมิ หรอื สรา้ งการตระหนกั ถงึ ความสาํา คญั ของการกระจายอาํา นาจการปกครอง ในฐานะท่ีเป็นเครื่องมือในการป้องกันหรือบรรเทาสถานการณ์ความไม่สงบได้ ทั้งนี้ ประชาคมระหว่างประเทศได้ให้ความสําาคัญต่อการสร้างการตระหนักถึงการกระจาย อําานาจ เนื่องด้วยเหตุผล 2 ประการ ได้แก่
ประการแรก การกระจายอําานาจการปกครองเป็นทางเลือกท่ีดีสุดในการ ส่งเสริมความแตกต่างและมีความสอดคล้องกับหลักการประชาธิปไตย ซ่ึงมีความ แตกต่างอย่างส้ินเชิงจากวิธีการอ่ืนๆ ท่ีมุ่งขจัดความแตกต่าง เช่น นโยบายการกลืน กลายทางวัฒนธรรม (Cultural Assimilation) หรือการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide)
ประการทสี่ อง การกระจายอาํา นาจการปกครองสามารถบรรเทาสถานการณ์ ความไมส่ งบในหลายพนื้ ทไ่ี ด้ เนอื่ งจากการกระจายอาํา นาจเปน็ จดุ กงึ่ กลางระหวา่ งเปา้ หมายทมี่ คี วามแตกตา่ งกนั อยา่ งสนิ้ เชงิ ของฝา่ ยรฐั และฝา่ ยกลมุ่ ผเู้ หน็ ตา่ งจากรฐั กลา่ ว คือ ฝ่ายรัฐเองมีความต้องการท่ีจะรักษาดินแดน ส่วนกลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐอาจจะมี เป้าหมายท่ีต้องการต้ังรัฐชาติใหม่ ดังนั้น การกระจายอําานาจการปกครองเป็นการ รกั ษาบรู ณภาพแหง่ ดนิ แดน แตใ่ นขณะเดยี วกนั กเ็ ปน็ การเปดิ โอกาสใหแ้ กช่ นกลมุ่ นอ้ ย ทอ่ี าจจะมคี วามแตกตา่ งจากคนสว่ นใหญข่ องประเทศมสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารกจิ การ ในด้านต่างๆ ภายในพื้นท่ีของตนเองและอยู่ภายใต้ขอบเขตท่ีกฎหมายกําาหนดไว้
ตวั อยา่ งขององคก์ ารระหวา่ งประทศทมี่ กี ารสง่ เสรมิ การกระจายอาํา นาจการ ปกครองในฐานะทเี่ ปน็ เครอื่ งมอื บรรเทาความขดั แยง้ ไดแ้ ก่ ขา้ หลวงใหญด่ า้ นชนกลมุ่ น้อยแห่งชาติ (High Commissioner on National Minorities) ขององค์การว่าด้วย ความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป (Organization for Security and Co-oper- ation in Europe, OSCE) ซ่ึงเคยเปิดเวทีเพื่อแลกเปล่ียนความคิดเห็นระหว่างผู้นําา
103





























































































   111   112   113   114   115